X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เด็กเลือกกิน ต้องระวังโรคผิดปกติทางการกิน มีอาหารประเภทไหนที่ไม่ควรกิน

บทความ 5 นาที
เด็กเลือกกิน ต้องระวังโรคผิดปกติทางการกิน มีอาหารประเภทไหนที่ไม่ควรกิน

เด็กเลือกกิน ต้องระวังโรคผิดปกติทางการกิน มีอาหารประเภทไหนที่ไม่ควรกิน

ผู้เชี่ยวชาญด้านความผิดปกติทางการกิน สถาบันเคนเนดี้ครีกเกอร์ ในบัลติมอร์  กล่าวว่า พ่อแม่ควรสังเกตว่าลูกเป็นโรคนี้หรือไม่เป็น โดย เด็กเลือกกิน มักปฏิเสธอาหารบางชนิด แต่ยังคงกินอาหารที่มีประโยชน์ แต่เด็กที่มีความผิดปกติทางการกิน จะกินอาหารแค่เพียง 3-4 ชนิด และปฏิเสธอาหารอื่น ๆ จึงทำให้เด็กไม่ได้รับสารอาหารและพลังงานที่เพียงพอในการเจริญเติบโต ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพ ส่วนสาเหตุเกิดจากเด็กไม่ชอบพื้นผิวสัมผัสหรือสีของอาหาร หรืออาจเกิดจากความผิดปกติทางพัฒนาการทางจิต หรือเป็นผลจากการใช้ยา

ทารกและเด็กกว่าร้อยละ 10 เป็นโรคนี้ อาการของโรคที่สำคัญคือ นิสัยการกินที่เปลี่ยนอย่างฉับพลันเป็นเวลานานกว่า 30 วัน แหวะ หรือสำลักระหว่างมื้ออาหาร อ่อนเพลียไม่มีเรี่ยวแรงอย่างไร้สาเหตุ พฤติกรรมก้าวร้าวระหว่างมื้ออาหาร ไม่ยอมกินข้าวเอง และไม่ยอมกินอาหารที่เคี้ยวยาก

เด็กเลือกกินต้องระวังโรคผิดปกติทางการกิน

หากลูกเริ่มมีอาหารดังกล่าว พ่อแม่ควรรีบพาไปพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยนะคะ เพราะยิ่งเร็วเท่าไรได้ยิ่งดี เพราะยิ่งทิ้งไว้นาน อาการป่วยก็จะซับซ้อนยิ่งขึ้น บางรายถึงขั้นต้องให้อาหารทางสายยางกันทีเดียว

อาหารสำหรับลูกน้อยใน 1 วัน

1. ทารกแรกเกิด – 4 เดือน

  • ควรให้กินนมแม่อย่างเดียว หากแม่ไม่สามารถให้นมได้ควรเก็บน้ำนมให้ลูกไว้กิน
  • จำนวนนมที่ควรให้ คือ 6-8 มื้อ รวมตอนกลางคืนด้วย
  • ในกรณีที่แม่ต้องให้ลูกน้อยกินนมผสม แบ่งตามช่วงอายุ
    • ทารกแรกเกิด – 2 เดือน: ควรให้ครั้งละ ประมาณ 2-3 ออนซ์
    • อายุ 2 – 4 เดือน: ควรให้ครั้งละ ประมาณ 3-5 ออนซ์
เด็กเลือกกิน

เด็ก เลือก กิน

 

2. เด็กอายุ 4 – 6 เดือน

  • ยังคงให้ลูกน้อยกินนมแม่อยู่
  • สำหรับแม่ต้องให้ลูกน้อยกินนมผสม ควรให้ครั้งละ ประมาณ 4-6 ออนซ์
  • จำนวนนมที่ควรให้ คือ 6-8 มื้อ
  • อาจจะเริ่มให้อาหาร 1 มื้อ โดยเริ่มจากอาหารบดก่อน เช่น ข้าวบดหรือกล้วยบด แล้วลองป้อนดูว่าลูกกลืนได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ควรเว้นการเริ่มให้อาหารลูกไว้ก่อน
เด็กเลือกกิน

เด็ก มัก เลือก กิน อาหาร บาง ชนิด

 

3. เด็กอายุ 6 – 9 เดือน

  • หากคุณแม่สามารถให้นมลูกได้ ก็ให้ได้อย่างต่อเนื่อง
  • สำหรับแม่ต้องให้ลูกน้อยกินนมผสม ควรให้ครั้งละ ประมาณ 5-6 ออนซ์ จำนวน 4-5 มื้อต่อ 24 ชม.
  • อาหารที่ให้ลูกทานต้องครบ 5 หมู่ แต่ต้องไม่มีการปรุงแต่งรสชาติ
  • ควรเริ่มให้ลูกน้อยกินผลไม้สด หากเป็นนำผลไม้ ไม่ควรกินเกิน 2-4 ออนซ์ต่อวัน
  • ควรให้ลูกทานอาหารวันละ 1-2 มื้อ สำหรับเด็ก 6-7 เดือน และควรให้ลูกทานอาหารวันละ 2 มื้อ สำหรับเด็ก 8-9 เดือน
เด็กเลือกกิน

เด็ก มัก เลือก กิน อาหาร ที่ ชอบ

4. เด็กอายุ 9 – 12 เดือน

  • หากคุณแม่สามารถให้นมลูกได้ ก็สามารถให้ได้อย่างต่อเนื่อง
  • สำหรับคุณแม่ที่ต้องให้ลูกน้อยกินนมผสม ควรให้ครั้งละ ประมาณ 6-8 ออนซ์ จำนวน 3-5 มื้อต่อ 24 ชม.
  • อาหารที่ให้ลูกทานต้องครบ 5 หมู่ แต่ต้องไม่มีการปรุงแต่งรสชาติ
  • ให้ลูกน้อยทานผลไม้สด หากเป็นน้ำผลไม้ ไม่ควรทานเกิน 2-4 ออนซ์ต่อวัน
  • ควรให้ลูกทานอาหารวันละ 2 มื้อ สำหรับเด็ก 9 เดือน และควรให้ลูกทานอาหารวันละ 3 มื้อ สำหรับเด็ก 10-12 เดือน
  • ฝึกให้ลูกดื่มนมจากกล่องหรือแก้ว และพยายามให้ลูกเลิกกินนมตอนกลางคืน รวมถึงเลิกขวดนมด้วย
  • ควรฝึกให้ลูกหยิบอาหารทานเอง แต่เริ่มจากอาหารนิ่มก่อน ระวังอย่าให้อาหารจำพวกเม็ดเพราะอาจทำให้ติดคอได้
เด็กเลือกกิน

เด็ก เลือก กิน

5. เด็กอายุ 1 – 2 ปี

    • ควรให้ลูกกินข้าวเป็นอาหารหลักครบ 5 หมู่ และควรทานให้ครบ 3 มื้อ
    • ควรให้ลูกดื่มนมเป็นอาหารเสริม โดยดื่มวันละ 2-3 แก้วหรือกล่อง
    • พยายามให้ลูกเลิกขวดนมให้ได้ และควรพาลูกไปแปรงฟันก่อนนอน
    • เริ่มฝึกให้ลูกใช้ช้อนตักอาหารทานเอง หรือหยิบของกินเองได้

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

เด็กเลือกกิน: ชอบกินแต่อาหารขยะ

ลูกกินน้อย ลูกเลือกกิน ลูกไม่ยอมกินข้าว ลูกเบื่อข้าว พ่อแม่ต้องแก้ยังไง

10 เมนูไข่ข้าวกล่องน่ารัก ไข่กินได้มีประโยชน์ ลูกกินได้ พ่อแม่ก็กินได้

แซนวิชไข่กุ้งแฮมชีส เมนูง่าย ๆ ทำทานได้ทุกวัน (Kidschen Menu)

วิธีฝึกลูกกินข้าวเอง บ้านไหนลูกไม่ยอมกินข้าวต้องลอง!

ที่มา : 1, 2

 

บทความจากพันธมิตร
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

ธิดา พานิช

  • หน้าแรก
  • /
  • เจ็บป่วย
  • /
  • เด็กเลือกกิน ต้องระวังโรคผิดปกติทางการกิน มีอาหารประเภทไหนที่ไม่ควรกิน
แชร์ :
  • ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

    ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

  • เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินข้าวช้า

    เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินข้าวช้า

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

    ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

  • เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินข้าวช้า

    เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินข้าวช้า

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ