X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ข้อดี ข้อเสียของการคลอดธรรมชาติ vs ผ่าคลอด

บทความ 3 นาที
ข้อดี ข้อเสียของการคลอดธรรมชาติ vs ผ่าคลอด

คลอดธรรมชาติ หรือ ผ่าคลอด แบบไหนดีกว่ากัน? คุณแม่ท้องแรกที่ยังสองจิตใจว่าจะเลือกวิธีไหนดี เราจะบอกคุณถึง ข้อดี ข้อเสีย ของการคลอดธรรมชาติและการผ่าคลอด ที่คุณอาจยังไม่รู้

ข้อดี ข้อเสีย คลอดธรรมชาติ vs ผ่าคลอด

ข้อดีของการคลอดธรรมชาติ

  • ฟื้นตัวเร็วกว่า เจ็บแผลหลังคลอดน้อยกว่าการผ่าคลอด
  • ไม่ถือว่าเป็นการผ่าตัดใหญ่
  • กระบวนการคลอดธรรมชาติจะมีการขับของเหลวออกจากปอดของทารก จึงเป็นการลดความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาการหายใจเมื่อแรกคลอด
  • ทารกได้รับเชื้อแบคทีเรียที่ดีที่อยู่ในช่องคลอดของแม่ ทำให้มีภูมิคุ้มกัน ไม่เจ็บป่วยบ่อย

ข้อเสียของการคลอดธรรมชาติ

  • เสี่ยงต่อการยืดและการฉีกขาดของเนื้อเยื่อในช่องคลอด
  • เสี่ยงของการหย่อนของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมปัสสาวะและการเคลื่อนไหวของลำไส้
  • อาจจะมีอาการเจ็บท้องมากช่วงใกล้คลอด และยาวนานในท้องแรก
  • ทารกอาจได้รับบาดเจ็บหากต้องใช้เครื่องมือ เช่น คีม หรือเครื่องดูดสูญญากาศช่วยคลอดออกมา

บทความแนะนำ วิธีการหายใจ 4 ขั้นตอนลดความเจ็บปวดขณะเบ่งคลอด

ข้อดี ข้อเสีย คลอดธรรมชาติ ผ่าคลอดข้อดีของการผ่าคลอด

  • สามารถกำหนดวันคลอดได้
  • คุณแม่ไม่ต้องใช้เวลาในการคลอดยาวนาน
  • เป็นตัวเลือกสำหรับคุณแม่ที่มีเชิงกรานแคบ และมีความเสี่ยงหากคลอดธรรมชาติ

ข้อเสียของการผ่าคลอด

  • คุณแม่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับความรู้สึกหรือยาสลบ ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
  • ลูกที่คลอดจากแม่ที่ได้รับยาสลบอาจเกิดการขาดออกซิเจนและตัวเขียว
  • ภาวะแทรกซ้อนขณะผ่าตัด หลังผ่าตัดสูงกว่ามาก เช่น ไข้ ติดเชื้อ ลิ่มเลือดอุดตัน เป็นต้น
  • ภาวะแทรกซ้อนระยะยาว เช่น ปวดท้องเรื้อรัง พังผืด ลำไส้อุดตัน เป็นต้น
  • ถือว่าเป็นการผ่าตัดใหญ่
  • เสียเลือดมากกว่า โดยทั่วไปแล้วเสียเลือดเป็นสองเท่าของการคลอดทางช่องคลอด
  • ใช้เวลานานกว่าจะฟื้นตัวหลังคลอด เจ็บแผลนานกว่าคลอดธรรมชาติ
  • มีแผลเป็นที่หน้าท้อง และมดลูกเป็นแผลขนาดใหญ่ ซึ่งมักจะมากกว่าแผลฝีเย็บ
  • ทารกมีแนวโน้มที่จะมีปัญหาการหายใจเมื่อแรกคลอด
  • ทารกไม่ได้สัมผัสกับเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในช่องคลอดของแม่ ในระยะยาวจะทำให้เด็กป่วยง่าย
  • เพิ่มภาวะแทรกซ้อนในครรภ์ต่อไปหลายประการ เช่น รกเกาะต่ำ รกติด ตกเลือดหลังคลอด

บทความแนะนำ วิธีดูแลแผลผ่าคลอดอย่างถูกวิธี ให้แผลเป็นเนียนเร็ว

อย่างไรก็ตาม การผ่าคลอดนั้น ควรทำเมื่อมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ เช่น เชิงกรานแคบ คุณแม่อายุมาก ใกล้ 50 ปีและตั้งครรภ์ครั้งแรก มีบุตรยาก มีเนื้องอกที่มดลูกหรือรังไข่ซึ่งขวางทางคลอด รกเกาะต่ำ ท่าทางทารกอยู่ในท่าขวางหรือท่าก้น หรือขณะเจ็บท้องคลอดเสียงหัวใจลูกผิดปกติ เป็นต้น

การผ่าคลอดโดยไม่มีข้อบ่งชี้จึงถือเป็นหัตถการที่ไม่จำเป็น ทั้งยังไม่ได้ทำให้อัตราการตายปริกำเนิดและอัตราการตายของมารดาลดลง และเมื่อเปรียบเทียบกับการคลอดธรรมชาติแล้ว การผ่าตัดคลอดก็ยังคงมีอันตรายมากกว่าการคลอดธรรมชาติ

ที่มา ph.theasianparent.com, www.doctor.or.th, www.medicine.cmu.ac.th, www.si.mahidol.ac.th

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

ที่สุดในชีวิตกับประสบการณ์การคลอดธรรมชาติ

รู้รอบขอบเตียงกรรมวิธี “ผ่าคลอด”แบบเจาะลึก

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ข้อดี ข้อเสียของการคลอดธรรมชาติ vs ผ่าคลอด
แชร์ :
  • ผ่าคลอด บล็อคหลัง ดมยาสลบ ภาวะแทรกซ้อน ความเสี่ยงที่แม่ต้องเจอตอนผ่าคลอด

    ผ่าคลอด บล็อคหลัง ดมยาสลบ ภาวะแทรกซ้อน ความเสี่ยงที่แม่ต้องเจอตอนผ่าคลอด

  • ข้อดีข้อเสียของการผ่าคลอดทีคุณอาจยังไม่รู้

    ข้อดีข้อเสียของการผ่าคลอดทีคุณอาจยังไม่รู้

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ผ่าคลอด บล็อคหลัง ดมยาสลบ ภาวะแทรกซ้อน ความเสี่ยงที่แม่ต้องเจอตอนผ่าคลอด

    ผ่าคลอด บล็อคหลัง ดมยาสลบ ภาวะแทรกซ้อน ความเสี่ยงที่แม่ต้องเจอตอนผ่าคลอด

  • ข้อดีข้อเสียของการผ่าคลอดทีคุณอาจยังไม่รู้

    ข้อดีข้อเสียของการผ่าคลอดทีคุณอาจยังไม่รู้

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ