X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 1 ขวบ

บทความ 3 นาที
น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 1 ขวบ

น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 1 ขวบ เกณฑ์การเพิ่มของน้ำหนักทารก ในแต่ละเดือน น้ำหนักลูกควรขึ้นเท่าไหร่ น้ำหนักตัวของลูกจะเพิ่มขึ้นมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง

น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 1 ขวบ

น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก เป็นอีกเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่เป็นกังวลอยู่ไม่น้อย กลัวว่าจะน้ำหนักน้อย ตัวเล็กเกินไปบ้าง หรืออาจจะกลัวว่าลูกจะมีน้ำหนักมากเกิน จนอ้วนเกินไปบ้าง ซึ่งจริง ๆ แล้ว การที่ทารกเกิดมาแล้วจะมีน้ำหนักเท่าไหร่นั้น ไม่สำคัญเท่ากับทารกมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นในเกณฑ์ที่เหมาะสม

อีกทั้งน้ำหนักทารกแต่ละคนนั้น ย่อมไม่เท่ากัน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับกรรมพันธุ์ สุขภาพของคุณแม่ และโภชนาการที่ได้รับตั้งแต่ยังอยู่ในท้อง ดังนั้น เกณฑ์การเพิ่มน้ำหนักของทารกจึงเป็นตัววัดที่ถูกต้อง ไม่ใช่น้ำหนักทารกแรกเกิด ซึ่งวันนี้ เรามีข้อมูลดี ๆ เรื่อง น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก ว่าเพิ่มเท่าไหร่จึงจะเหมาะสม มาฝากให้คุณพ่อคุณแม่ได้อ่านเพื่อให้หายกังวลใจ

 

น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก

ทารก 1 เดือน น้ํา หนัก

เกณฑ์การเพิ่มของน้ำหนักทารก

การที่จะดูว่า ลูกน้อยมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมหรือไม่นั้น เรามักจะดูจากน้ำหนักตัวว่า เพิ่มขึ้นในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่ ซึ่งนั่นก็เป็นเพราะน้ำหนักตัวของทารกแต่ละคนไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ๆ ประการ ซึ่งจะส่งผลต่อน้ำหนักตัวของเด็กที่อยู่ในครรภ์ด้วย ดังนั้น เกณฑ์การเพิ่มของน้ำหนักทารกแรกเกิด จึงเป็นตัววัดที่ถูกต้อง ไม่ใช่วัดจากน้ำหนักของทารกเพียงอย่างเดียว

  • น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก 1 เดือน

น้ำหนักตัวทารก ในช่วง 1-3 เดือนแรกนั้น จะเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยเดือนละประมาณ 700-800 กรัม

 

  • น้ำหนักตามเกณฑ์ ของทารก 4 เดือน

น้ำหนักตัวทารก ในช่วง 4-6 เดือน จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าค่าเฉลี่ยในช่วง 1-3 เดือนแรก โดยจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณ 500-600 กรัมต่อเดือน

 

  • น้ำหนักตามเกณฑ์ ของทารก 7 เดือน

น้ำหนักตัวทารกในช่วง 7-8 เดือน จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณ 400 กรัมต่อเดือน แต่ก็อาจจะเพิ่มขึ้นมากกว่า หรือน้อยกว่านี้ได้นิดหน่อย ก็ไม่ถือว่าผิดปกติอะไร

 

  • น้ำหนักตามเกณฑ์ ของทารก 9 เดือน

น้ำหนักตัวทารกในช่วง 9 เดือนถึง 1 ขวบ จะเพิ่มขึ้นน้อยลงเหลือเฉลี่ยเพียงเดือนละประมาณ 300 กรัม

 

  • น้ำหนักตามเกณฑ์ ของเด็กวัย 1 ขวบ

เมื่อลูกน้อยมีอายุครบ 1 ขวบ น้ำหนักตัวของลูกจะเพิ่มขึ้นเพียงเดือนละประมาณ 200 กรัม อย่างไรก็ตาม น้ำหนักตัวของลูกจะเพิ่มขึ้นมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ๆ ประการ เช่น

    • ขึ้นอยู่กับโภชนาการ การกินอาหารของเด็กในแต่ละวัน
    • หากอยู่ในช่วงฟันขึ้น ก็อาจจะส่งผลต่อการกินอาหาร และการเพิ่มของน้ำหนักของเด็กได้
    • หากไม่สบาย มีอาการเจ็บป่วย หรือมีโรคประจำตัว ก็จะส่งผลโดยตรงต่อน้ำหนักตัวลูก
    • ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่ชั่งน้ำหนัก เช่น ชั่งน้ำหนักหลัง หรือก่อนลูกอุจจาระ ปัสสาวะ หรือเปลี่ยนผ้าอ้อม

อย่างไรก็ตาม หากน้ำหนักตัวของทารกน้อย หรือมากกว่าเกณฑ์น้ำหนักทารกแรกเกิดไม่มาก แต่ถ้าลูกน้อยยังกินนม ไม่มีอาการป่วย ร่าเริง นอนหลับได้ตามปกติ คุณพ่อคุณแม่ก็ไม่ต้องกังวลใจไป

น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก

น้ำหนักตามเกณฑ์ของเด็ก

แต่ถ้าน้ำหนักเพิ่มมากหรือน้อยกว่าเกณฑ์มาก ๆ หรือหากคุณพ่อคุณแม่สังเกตเห็นอาการผิดปกติอื่น ๆ หรือสงสัยและกังวลมาก ๆ ควรพาลูกไปพบคุณหมอเพื่อตรวจวินิจฉัย และรับคำแนะนำอย่างเหมาะสมต่อไป

นอกจากนี้ คุณพ่อคุณแม่ควรพาลูกไปพบคุณหมอตามนัดอย่างสม่ำเสมอ เพื่อที่จะได้ติดตาม และทราบถึงการเติบโตของลูกน้อยได้ทุกช่วงระยะ และซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ ให้คลายกังวล

 

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ตารางการนอนของลูกในขวบปีแรก ตอนไหน อย่างไร กี่ชั่วโมง กี่นาที

ทารกได้ยินตอนไหน การได้ยินของทารกเริ่มเมื่อไหร่ กระตุ้นการได้ยินอย่างไร

ส่าไข้ ทารก เกิดจากอะไร แม่อาบน้ำให้ลูกได้ไหม ทำยังไงถึงจะหาย

 

บทความจากพันธมิตร
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • ทารก
  • /
  • น้ำหนักตามเกณฑ์ของทารก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 1 ขวบ
แชร์ :
  • LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
    บทความจากพันธมิตร

    LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้

  • แนะนำ หนังสือการ์ตูนความรู้ สำหรับเด็ก ให้ความสนุก และความรู้มากมาย!

    แนะนำ หนังสือการ์ตูนความรู้ สำหรับเด็ก ให้ความสนุก และความรู้มากมาย!

  • อีกหนึ่งกิจกรรมเสริมพัฒนาการให้ลูกน้อย เล่นหยอดบล็อก ดีต่อร่างกายและสมอง

    อีกหนึ่งกิจกรรมเสริมพัฒนาการให้ลูกน้อย เล่นหยอดบล็อก ดีต่อร่างกายและสมอง

  • LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
    บทความจากพันธมิตร

    LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้

  • แนะนำ หนังสือการ์ตูนความรู้ สำหรับเด็ก ให้ความสนุก และความรู้มากมาย!

    แนะนำ หนังสือการ์ตูนความรู้ สำหรับเด็ก ให้ความสนุก และความรู้มากมาย!

  • อีกหนึ่งกิจกรรมเสริมพัฒนาการให้ลูกน้อย เล่นหยอดบล็อก ดีต่อร่างกายและสมอง

    อีกหนึ่งกิจกรรมเสริมพัฒนาการให้ลูกน้อย เล่นหยอดบล็อก ดีต่อร่างกายและสมอง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ