X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา ลูกพูดอะไรเป็นคำแรก

บทความ 5 นาที
ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา ลูกพูดอะไรเป็นคำแรก

สงสัยไหมว่าลูกพูดอะไรเป็นคำแรก ทำไมลูกเรียกแม่ก่อนพ่อ แล้วทำไมทารกทั่วโลกจึงออกเสียงว่ามามาไม่ว่าชาติใดก็ตาม แล้วลูกคุณล่ะพูดคำว่าอะไรเป็นคำแรกมาลองสังเกตดู

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา ลูกพูดอะไรเป็นคำแรก

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา ลูกพูดอะไรเป็นคำแรก

สงสัยไหมคะว่า ทำไมทารกทั้งโลก จึงออกเสียงว่า มามา ในความเป็นจริง การที่ทารกออกเสียงคำว่า “มามา” ไม่ใช่เหตุบังเอิญ มันเป็นเพียงคำที่ธรรมดา ๆ ของทุกวัฒนธรรมทั่วโลก คำว่า มามา ยังคงความเป็นเอกลักษณะเฉพาะตัว ที่ไม่เหมือนคำอื่น ๆ ทั่วไป และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบการออกเสียงของทารก ที่มีมานานนับหลาย ๆ ร้อยศตวรรษได้

คำว่า มามา คือถ้อยคำสากลที่แสดงให้รู้ว่า ผู้หญิงคือผู้ให้ชีวิต แม้ว่าแต่ละประเทศในโลกนี้ ต่างก็มีภาษาที่แตกต่างกัน แต่ทารกทั้งหลายทั่วโลกก็ยังคงออกเสียงคำว่า มามา เป็นคำแรก

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา

มามา ยังคงความเป็น เอกลักษณะเฉพาะตัว ที่ไม่เหมือน คำอื่น ๆ ทั่วไป

ทำไม ทารกทั้งหลายจึงออกเสียงคำว่า “มามา” เป็นคำแรก

นักศึกษาศาสตร์ได้ทำการศึกษาคำว่า “มามา” และพบว่าคำ ๆ นี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับหน้าอก หรือเต้านม ดังนั้นคำว่า “มามา” จึงไม่ได้เป็นเพียงแค่ การให้ความรักและการดูแลเอาใจใส่โดยปราศจากเงื่อนไขเท่านั้น แต่ยังเป็นที่มาอันยาวนานของการทนุถนอมเลี้ยงดูอีกด้วย นักภาษาศาสตร์ชื่อโรแมน จาคอปสันได้ค้นพบว่า คำว่า “มามา” คือคำที่เปล่งเสียงได้ง่ายที่สุด สำหรับทารกเล็ก ๆ

เด็กทารกสามารถที่จะอ้าปาก เพื่อเปล่งเสียงคล้ายการพูดคุยในเดือนแรกของชีวิต หลังจากนั้นก็จะค่อย ๆ เกิดความคุ้นเคยในการใช้เสียง และเสียงที่ทำง่ายที่สุดคือเสียง ‘อืม’  ซึ่งมีความสอดคล้องกับการออกเสียงได้ ในขณะที่ปากยังปิดอยู่ ดังนั้นทารกจึงออกเสียง มามา เพื่อร้องขอความสบายตัวและอาหาร นักภาษาศาสตร์ยังกล่าวอีกด้วยว่าเสียง อืมมม ที่ทารกทำคือ เสียงแสดงความรู้สึกสบายและพึงพอใจ  ความสบายและพึงพอใจจากการทนุถนอมเลี้ยงดู ด้วยน้ำนมจากเต้าที่ทารกได้รับจากผู้เป็นแม่  ด้วยเหตุนี้เองทารกจึงออกเสียง มามา เมื่อถูกโอบกอดและซุกอยู่กับอกของผู้เป็นแม่ ที่ไม่ใช่เป็นเพียงแค่แหล่งที่มาของอาหาร แต่ยังเป็นที่มาของความสุขสบายและความรักอีกด้วย

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา

คำว่า “มามา” คือคำที่เปล่งเสียงได้ง่ายที่สุด สำหรับทารกเล็ก ๆ

รากศัพท์ของคำว่า ‘มามา’

ในภาษาลาติน ‘แมมมา’ (‘Mamma’) มีความหมายว่าหน้าอก หรือเต้านมเช่นเดียวกัน ซึ่งทำให้เป็นเรื่องที่มีเหตุผล คำว่ามามายังเป็นต้นเสียงในการพัฒนาคำอื่นๆอีกมากมาย  ในปีค.ศ.1700 รากศัพท์ภาษาอังกฤษได้มีการจดบันทึก ให้ใช้เป็นคำสำหรับเรียกคนที่เป็นแม่ว่า ‘มามา’  ดังนั้น จึงดูเหมือนว่าการพูดของทารกเป็นสิ่งที่นำพาให้เกิดเป็นคำเรียกที่เราใช้กันในหลายภาษารอบโลก

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา

ในภาษาลาติน ‘แมมมา’ (‘Mamma’) มีความหมายว่าหน้าอก หรือเต้านมเช่นเดียวกัน

เมื่อไหร่ที่ทารกส่งเสียงว่า มามา หรือ ปาปา?

บางครั้งทารกส่งเสียงว่า มามา ในขณะที่พ่อกำลังอุ้มเขาหรือเธออยู่ อาจเป็นไปได้ว่า เพราะทารกต้องการกินนม นับตั้งแต่ที่โดยปกติแม่เป็นผู้ให้ความดูแลใกล้ชิดมาก่อน การร้องขอจากแม่เมื่อเกิดการหิวจึงเป็นเรื่องธรรมดา แต่พ่อก็สามารถทำให้ทารกอิ่มได้เหมือนกัน  เมื่อทารกรับรู้ในสิ่งนี้พวกเขาก็จะร้องขอจากพ่อบ้าง ทารกจะร้องขอกินนมเกือบจะตลอดเวลา

คุณคาดหวังได้ว่าทารกน้อยของคุณ จะเริ่มเรียกแม่ได้ตอนอายุประมาณหนึ่งขวบ จนกระทั่งลูกออกเสียงคำว่า กาก้า ซึ่งเป็นคำที่เด็กส่วนมากทำเสียงอย่างนี้ ตอนนี้แหละที่การพูดแบบเต็มคำเกิดขึ้นเมื่อไหร่ก็ได้ ดังนั้นการพูดคุยกับลูกของคุณในภาษาง่าย ๆ ธรรมดา ๆ มีส่วนช่วยกระตุ้นให้ลูกมีพัฒนาการในการพูด

ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา

ในภาษาลาติน ‘แมมมา’ (‘Mamma’) มีความหมายว่าหน้าอก หรือเต้านมเช่นเดียวกัน

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และในเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการของทารก ตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

บทความที่เกี่ยวข้อง : 

Live Science – Why Are ‘Mama’ and ‘Dada’ a Baby’s First Words?

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ : 

โรคในทารกแรกเกิด โรคที่พบบ่อย ทารก 0 – 1 ปี ปัญหา ทารกแรกเกิด ที่พบบ่อย การแก้ไขเบื้องต้น

ลูกไม่ค่อยได้ยิน แม่จะรู้ได้อย่างไร วิธีสังเกต พัฒนาการ ทางการได้ยิน ต้องเช็คตั้งแต่ทารก

การพัฒนาภาษา พัฒนาการทางภาษา ของเด็กอายุ 1 – 2 ปี

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Angoon

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ทำไมทารกทั้งโลกจึงออกเสียงว่ามามา ลูกพูดอะไรเป็นคำแรก
แชร์ :
  • 5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

    5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

  • รู้ไว้ซะ!! 6 วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด ที่คุณแม่ควรทำ

    รู้ไว้ซะ!! 6 วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด ที่คุณแม่ควรทำ

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

    5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

  • รู้ไว้ซะ!! 6 วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด ที่คุณแม่ควรทำ

    รู้ไว้ซะ!! 6 วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด ที่คุณแม่ควรทำ

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ