X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

การอยู่ไฟ หลังคลอด อยู่ไฟคืออะไร แม่หลังคลอดจำเป็นที่จะต้องอยู่ไฟไหม?

บทความ 5 นาที
การอยู่ไฟ หลังคลอด อยู่ไฟคืออะไร แม่หลังคลอดจำเป็นที่จะต้องอยู่ไฟไหม?การอยู่ไฟ หลังคลอด อยู่ไฟคืออะไร แม่หลังคลอดจำเป็นที่จะต้องอยู่ไฟไหม?

การอยู่ไฟหลังคลอด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ได้เร็ว คุณแม่หลังคลอดต้องศึกษา!

การอยู่ไฟ หลังคลอด คือ ขั้นตอนการปฎิบัติตัวสำหรับผู้หญิงที่พึ่งคลอดลูกออกมาใหม่ และการอยู่ไฟก็ช่วยในเรื่องให้คุณแม่มีการฟื้นตัวได้ไวมากขึ้น หรือที่พวกแม่ ๆ เคยได้ยินกันอยู่บ่อยครั่งว่า มดลูกเข้าอู่ไว เพราะร่างกายของหญิงหลังคลอดผ่านเรื่องหลาย ๆ เรื่องจากการที่อุ้มท้อง และการคลอดมาอย่างต่อเนื่องอาจจะมีเรื่องที่เครียดอยู่มากมาย การ อยู่ไฟหลังคลอด อยู่ไฟ ถ้าเปรียบกับปัจุบันแล้วก็เหมือนเวลาพักผ่อนของคุณแม่ ๆ นั้นแหละค่ะ เพราะว่าแม่ ๆ จะได้พักทั่งร่างกายและจิดใจค่ะ เราไปดูกันดีกว่าการอยู่ไปนั้นมีประโยชน์ต่อคุณแม่อย่างไรบ้าง?

 

อยู่ไฟหลังคลอด

การอยู่ไฟ อยู่ไฟคือ อะไร ขอบคุณที่มาของรูป : www.youtube.com

การอยู่ไฟ อยู่ไฟ ของคุณแม่คลอดธรรมชาติ และคุณแม่ผ่าคลอดต่างกันอย่างไร?

การอยู่ไฟ จากที่เราพอทราบมานะคะ จำนวนของคุณแม่คลอดธรรมชาติได้ลดน้อยลงมากในช่วง 10 ปีที่ผ่านมานี้ ตอนนี้อาจจะพูดได้เลยว่าจำนวนคุณแม่ผ่าคลอดอยู่ที่ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์เลยก็ว่าได้ค่ะ ซึ่งทางเราเองก็อยากจะสนับสนุนตัวคุณแม่ให้คลอดธรรมชาติเยอะขึ้น เพราะจะเป็นผลดีต่อน้ำนมแม่ และการฟื้นตัวได้เร็วขึ้น โดยสำหรับคุณแม่ที่ผ่าคลอดนั้น ก็ควรที่จะรอให้แผลแห้งหรือหายดีเสียก่อนควรรอประมาณ 30 วัน ก่อนวันที่แม่ ๆ จะมาอยู่ไฟ และสำหรับคุณแม่ท่านไหนที่ยคลอดธรรมชาติ สามารถที่จะอยู่ไฟได้เลยหลังคลอด 5-7 วัน หรือว่าแผลฝีเย็บหายดี ซึ่งขั้นตอนการอยู่ไฟของธรรมชาติจะมีการเพิ่มขั้นตอนของการนั่งถ่านขึ้นมาอีกด้วยค่ะ

 

ระยะเวลาของการ อยู่ไฟ เท่าไหร่?

อยู่ไฟ ระยะเวลาของการอยู่ไฟโดยส่วนใหญ่แล้วของเป็นบุคคลธรรมดาที่อยู่ตามต่างจังหวัดก็จะให้ระยะเวลาของการอยู่ไฟประมาณ 30 วัน หรือ 1 เดือน หากว่าเป็นบุคคลที่อยู่ในเมืองกรุงหรือทำงานอาจจะมีระยะเวลาอยู่น้อยก็อาจจะอยู่ประมาณ 5-7 วัน แล้วแต่มดลูกของแม่แต่ละคนนะคะว่า เข้าอู่ไวแค่ไหน เป็นต้น

 

ข้อที่ต้องระวังระหว่างที่อยู่ไฟ?

การอยู่ไฟ ในกลุ่มที่คุณแม่ครรภ์เป็นพิษ โดยส่วนมากแล้วจะไม่ได้ทำการอยู่ไฟนะคะ และแม่ที่มีความดันโลหิตสูงควรจะหลีกเลี่ยงการอยู่ไฟเพราะจะทำให้เป็นอันตรายได้ หรือถ้าหากว่าคุณแม่อยากที่จะอยู่ไฟแล้วละก็ ต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์แผนไทยผู้ให้ความรู้เรื่องการอยู่ไฟ

บทความที่เกี่ยวข้อง : อาหารต้องห้ามแม่ให้นม 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 48 ห้ามกินอะไรบ้าง

 

การอยู่ไฟ 3

การอยู่ไฟ อยู่ไฟคือ อะไร ขอบคุณรูปจาก : therainnovationmassage.com

การอยู่ไฟ ให้ประโยชน์อะไรกับตัวคุณแม่บ้าง?

  1. ช่วยทำให้มดลูกบีบตัว และหดตัวได้ดีขึ้น
  2. ช่วยในเรื่องขับของเสียออกจากร่างกายเรา และน้ำคาวปลา
  3. ช่วยประสภาพความสมดุลย์ของร่างกาย เพื่อให้ธาตุทั้ง 4 ให้กลับมาเป็นปกติ
  4. ช่วยเรื่องการไหลเวียนของเลือดได้ดี
  5. ช่วยทำให้น้ำนมของแม่ไหลดีขึ้น
  6. ช่วยใช้สายตาดีขึ้น มองเห็นได้ชัดมากยิ่งขึ้น
  7. ช่วยทำให้มีผิวพรรณดีขึ้น มีน้ำมีนวล
  8. ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และลดความปวดเมื่อยของร่างกาย
  9. ช่วยขับพิษ และสารตกค้าง ขับของเสียทุกอย่างในร่างกาย
  10. ช่วยให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรคหนาวสั่นหรือโรคต่าง ๆ ช่วยในเรื่องสุขภาพโดยตรง
  11. ช่วยทำให้พุงยุบ ลดหน้าท้อง ช่วยลดไขมันในร่างกาย
  12. ช่วยทำให้สุขภาพมีความแข็งแรง ไม่มีโรคภัยต่าง ไม่มีอาการแทรกซ้อน

 

สำหรับคุณแม่ที่ไม่สะดวกอยู่ไฟ จะดูแลตัวเองหลังคลอดได้อย่างไร?

คุณแม่จะต้องพยายามให้ร่างกายได้รับความอบอุ่นให้ได้มากที่สุด ไม่ว่าจะการอาบน้ำอุ่น การดื่มน้ำอุ่น รับประทานอาหารที่ยังร้อนหรืออุ่นอยู่ ให้ใช้กระเป๋าน้ำร้อนนาบไว้ที่ท้องก็จะช่วยได้ดีเลยทีเดียว สำหรับการขับน้ำคาวปลาเชื่อว่าความเชื่อของแม่แต่ละคนนั้นแตกต่างกันไป แต่ที่สำคัญให้มั่นใจว่าสิ่งที่เราทานไม่ได้มีส่วนของแอลกอฮอล์ หรือสารที่ทำให้คุณแม่แพ้ และจะต้องหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้แม่ ๆ แพ้ด้วย

บทความที่เกี่ยวข้อง : สิ่งที่ต้องทำหลังคลอดใน 90 วันแรก แม่หลังคลอดควรทำอะไรบ้าง 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 91

 

 

การอยู่ไฟ 1

การอยู่ไฟ อยู่ไฟคือ อะไร ขอบคุณรูปจาก : www.jukjum.com

การอยู่ไฟหลังคลอดมีกี่วิธี?

สมัยโบราณนั้น การอยู่ไฟหลังคลอดถือว่ามีความสำคัญต่อสุขภาพของแม่ ๆ เป็นอย่างมากเลย หากว่าขาดการได้อยู่ไฟแล้ว หรือการอยู่ไฟหลังที่คลอดบุตรออกมาใหม่ ๆ แล้วโดยที่ผิดวิธี จากการที่คนแก่คนเฒ่าบอกเล่ามา จะทำให้เกิดปัญหาได้ทั้งตัวของคุณแม่และลูกน้อย จนในบางกรณีก็อาจจะทำให้เสียชีวิตได้ อย่างเช่น บางรายทั้ง ๆ ก็อยู่ไฟตามปกติ แต่ไปรับประทานอาหารที่ผิดสำแดง ทำให้แม่เกิดอาการแพ้อย่างหนัก ไปหาหมอไม่ทันและถึงขั้นเสียชีวิตนั้นเอง แต่ว่าเราไปดูกันก่อนว่าการอยู่ไฟหลังคลอดมีกี่วิธี?

 

1. การอยู่ไฟหลังคลอดร่วมสมัย

ในการอยู่ไฟหลังคลอดร่วมสมัยนั้น จะยังมีให้เห็นตามต่างจังหวัด ที่พอจะยังหาสมุนไพรที่ยังจำเป็นต่าง ๆ สำหรับการอยู่ได้ง่ายถึงแม้ว่าจะเป็นการแพทย์ร่วมสมัยใหม่และมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อย ๆ แต่คุณแม่ในหลาย ๆ ท่านก็ยังให้ความสำคัญกับการอยู่ไฟหลังคลอด และได้นำวิธีการอยู่ไฟแบบสมัยดั้งเดิมมาประยุกต์ใช้ร่วมไปกับสมัยของแพทย์สมัยใหม่ เช่น กระโจมอบสมุนไพร การนวดด้วยลูกประคบ และการที่นาบด้วยหม้อเกลือ เป็นต้น

 

  • อยู่ไฟ กระโจมอบสมุนไพร : วิธีนี้ก็ถือว่าเป็นวิธีที่มีประโยชน์อันสูงสุดของการอยู่ไฟร่วมสมัย ขั้นตอนก็คือการนำสมุนไพรที่จำเป็นสำหรับการอยู่ไฟต่าง ๆ เช่น ตะไคร้ การบูร หอมแดง มะกรูด ไพล เปล้าใหญ่ ขมิ้นชัน ส้มป่อย เถ่าเอ็นอ่อน หาได้เท่าที่หาได้นำมาต้มให้เดือด และต่อท่อไอน้ำในกระโจม ให้คุณแม่เข้าไปอบในกระโจมแต่เฉพาะส่วนของตัวเท่านั้นทิ้งไว้เป็นเวลา 15-20 นาที ไอของสมุนไพรต่าง ๆ จะช่วยในร่างกายของคุณแม่ขับของเสียออกมาทางรูขุมขน ทำให้ร่างกายผ่อนคลาย ช่วยในเรื่องให้มดลูกเข้าอู่ได้ไวขึ้น เหมือนการอยู่ไฟในสมัยโบราณ แต่สะดวกสบายกว่านั้นเอง
    บทความที่เกี่ยวข้อง : แม่หลังคลอดห้ามแช่น้ำ จริงหรือไม่ 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 84
  • อยู่ไฟ การนวดลูกประคบ : คือการที่ใช้ผ้าขายห่อหุ้มสมุนไพรชนิดต่าง ๆ เหมือนกันกับสมุนไพรที่ใช้ในการกระโจม แล้วนำมานึ่งให้ได้ความร้อน จากนั้นก็นำมาประคบไว้ที่หน้าท้อง เต้านม และให้ทั่วร่างกายของคุณแม่ อาจจะนั้งทับลูกประคบอีกหนึ่งลูกเพื่อให้แผลจากการคลอดหายได้เร็วมากยิ่งขึ้น
  • การนาบด้วยหม้อเกลือ : คือการที่นำเกลือใส่ในหม้อดินเผาขนาดเล็ก แล้วก็นำไปนึ่งให้ได้ความร้อน แล้วก็นำมานาบตามลำตัวความร้อนจากหม้อดินจะช่วยเปิดรูขุมขน สมุนไพรจะซึมเข้าไปในผิวหนังได้ดี ช่วให้ร่างกายขับของเสียออกทางรูขุมขน ช่วยในเรื่องการขับน้ำคาวปลา และปรับความสมดุลของร่ายกาย

 

2. การอยู่ไฟสมัยโบราณ

เมื่องที่หมอตำแยมาตรวจดูครรภ์ของคุณแม่ท้องแก่ใกล้คลอดเพื่อที่จะกำหนดวันคลอดแล้ว คนเฒ่าคนแก่ที่บ้านก็จะจัดเตรียมหาฟืนสำหรับที่จะก่อกองไฟ รวมถึงจักเตรียมหาสมุนไพรต่าง ๆ สำหรับการอยู่ไฟหลังคลอด สมุดไพรก็จะมีอยู่ดังนี้ ตะไคร้ การบูร หอมแดง มะกรูด ไพล เปล้าใหญ่ ขมิ้นชัน ส้มป่อย เถ่าเอ็นอ่อน และเกลือ ก็จะเอาได้เท่าที่หาใด้ตามท้องถิ่งของตนเอง จากนั้นก็จะจัดเตรียมสถานที่สำหรับการอยู่ไฟ เช่น กระท่อมอยู่ไฟหลังคลอดที่ปิดมิดชิด เตรียมแคร่สำหรับให้แม่นอนอยู่ไฟ จัดเตรียมที่ก่อไฟซึ่งจะให้ฟืนในการก่อ หม้อต้มสมุนไพรให้พร้อม ซึ่งการอยู่ไฟสมัยโบราณนั้นจะให้คุณแม่ ๆ นอนที่แคร่ข้อง ๆ กองไฟ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

เสื้อผ้าสวมหลังคลอดสัปดาห์แรก 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 92

อ้วนหลังคลอด เช็คสาเหตุคุณแม่ผอมช้า คลอดลูกแล้วแต่ยังเหมือนท้องอยู่เลย

รวมเมนูหลังคลอด บำรุงน้ำนม ลดน้ำหนัก พุงยุบ กินอะไรเพิ่มน้ำนม ให้ลูกได้รับสารอาหารเต็ม ๆ

แชร์ประสบการณ์หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ไฟหลังคลอด ได้ที่นี่!

อยู่ไฟหลังคลอด คืออะไรคะ แล้วต้องอยู่ไฟทุกคนไหมคะ

แหล่งที่มา : (1), (2), (3)

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

chonthichak88

  • หน้าแรก
  • /
  • การคลอด
  • /
  • การอยู่ไฟ หลังคลอด อยู่ไฟคืออะไร แม่หลังคลอดจำเป็นที่จะต้องอยู่ไฟไหม?
แชร์ :
  • อยู่ไฟหลังคลอด จำเป็นต่อแม่หลังคลอดอย่างไร ควรระวังเรื่องใดบ้าง?

    อยู่ไฟหลังคลอด จำเป็นต่อแม่หลังคลอดอย่างไร ควรระวังเรื่องใดบ้าง?

  • การอยู่ไฟ ตำราโบราณเพื่อคุณแม่ แบบไหนดีและเหมาะกับคุณแม่มือใหม่

    การอยู่ไฟ ตำราโบราณเพื่อคุณแม่ แบบไหนดีและเหมาะกับคุณแม่มือใหม่

  • นอนตะแคงแล้วลูกดิ้นมาก เพราะนอนทับลูกหรือเปล่า

    นอนตะแคงแล้วลูกดิ้นมาก เพราะนอนทับลูกหรือเปล่า

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

app info
get app banner
  • อยู่ไฟหลังคลอด จำเป็นต่อแม่หลังคลอดอย่างไร ควรระวังเรื่องใดบ้าง?

    อยู่ไฟหลังคลอด จำเป็นต่อแม่หลังคลอดอย่างไร ควรระวังเรื่องใดบ้าง?

  • การอยู่ไฟ ตำราโบราณเพื่อคุณแม่ แบบไหนดีและเหมาะกับคุณแม่มือใหม่

    การอยู่ไฟ ตำราโบราณเพื่อคุณแม่ แบบไหนดีและเหมาะกับคุณแม่มือใหม่

  • นอนตะแคงแล้วลูกดิ้นมาก เพราะนอนทับลูกหรือเปล่า

    นอนตะแคงแล้วลูกดิ้นมาก เพราะนอนทับลูกหรือเปล่า

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ