X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

โรคงูสวัด คืออะไร อาการของโรคงูสวัดเป็นอย่างไร น่ากลัวหรือไม่ อันตรายใกล้ตัวควรระวัง!!

บทความ 5 นาที
โรคงูสวัด คืออะไร อาการของโรคงูสวัดเป็นอย่างไร น่ากลัวหรือไม่ อันตรายใกล้ตัวควรระวัง!!

หลาย ๆ คนคงไม่รู้จักโรคงูสวัดกันใช่ไหม ว่าโรคงูสวัดคืออะไร น่ากลัวหรือไม่ อาการเป็นอย่างไร สาเหตุการเกิดโรคงูสวัดมาจากอะไร อันตรายใกล้ตัวหรือไม่ มาดูกัน

โรคงูสวัด คืออะไร หลาย ๆ คนคงสงสัยใช่ไหมว่า โรคงูสวัดอาการเป็นอย่างไร สาเหตุเกิดจากอะไร มีวิธีรักษาโรคงูสวัดอย่างไรได้บ้าง แล้วอันตรายหรือไม่ มาดูกันเลย

 

ขอขอบคุณวีดีโอจาก : https://www.youtube.com , Mahidol Channel มหิดล แชนแนล

 

โรคงูสวัด คืออะไร

โรคงูสวัด เกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า ไวรัสวาริเซลลา(varicella virus) ที่เป็นเชื้อตัวเดียวกับที่ทำให้เกิด โรคอีสุกอีใส (Chickenpox) เมื่อเชื้อไวรัสเริ่มเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ หรือการสัมผัสตุ่มน้ำใสโดยตรง และเชื้อชนิดนี้เข้าสู่ร่างกายผู้ที่ไม่เคยได้รับเชื้อก็จะทำให้เป็นโรคอีสุกอีใส และเมื่อหายเป็นปกติแล้ว เชื้อดังกล่าวจะหลบอยู่บริเวณปมประสาทของร่างกาย และจู่โจมร่างกายเมื่อร่างกายอ่อนแอจนเกิดเป็นงูสวัด และงูสวัดเป็นโรคที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย แต่มักจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ และผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน เป็นโรคที่สามารถที่จะรักษาให้หายได้หากได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ยิ่งไปพบแพทย์เร็วเท่าไหร่ ก็จะยิ่งลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน หากทำการปล่อยทิ้งไว้นานจนเกิดไป อาจจะเกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรงได้เช่นกัน

บทความที่เกี่ยวข้อง : งูสวัด ทารก โรคงูสวัดในเด็กเล็ก อาการของทารกที่เป็นโรคงูสวัด แม่จะสังเกตได้ยังไง

 

โรคงูสวัด

โรคงูสวัดคืออะไร อาการของโรคงูสวัดเป็นอย่างไร น่ากลัวหรือไม่ อันตรายใกล้ตัวควรระวัง!! ดูได้ที่นี้

สาเหตุของงูสวัด

สาเหตุของการเกิดงูสวัดนั้น มาจากการติดเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (Varicella Zoster Virus: VZV) ซึ่งเป็นเชื้อชนิดเดียวกับเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคอีสุกอีใส โรคอีสุกอีใสสามารถที่จะเกิดขึ้นได้กับทุก ๆ คน แตต่ว่างูสวัดนั้นสามารถที่จะเกิดขึ้นกับผู้ที่เคยเป็นโรคอีสุกอีสมาก่อนเท่านั้น โดยเมื่อเชื้อไได้เข้าไปจู่โจมร่างกายจนเป็นโรคอีสุกอีใสแล้วก็จะไปหลบตามปมประสาท และได้กลายเป็นงูสวัดในภายหลัง ขณะที่กลุ่มเสี่ยงโรคงูสวัดโดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นผู้ี่สูงอายยุ ผู้ที่มีปัญหาทางด้านระบบภูมิคุ้มกัน หรือผู้ที่ใช้การรักษาด้วยยาบางชนิด เช่น สเตียรอยด์ ผู้ที่อยู่ในช่วงของการรักษาโรคมะเร็งด้วยรังสีวิทยาหรือเคมีบำบัด เป็นต้น

 

อาการของงูสวัด

อาการงูสวัดมักจะเริ่มต้นขึ้นจากบริเวณเล็ก ๆ ของร่างงกายฝั่งใดฝั่งหนึ่ง ก่อนที่จะเริ่มทำการลุลามไปยังบริเวณอื่น ๆ ในฝั่งร่ากายเดียวกัน ผู้ที่ป่วยอาจจะมีอาการปวดหัวและมีไข้ จากนั้นจะรู้สึกปวดแสบปวดร้อนบริเวณผิวหนัง บางรายอาจจะมีอาการชาด้วย เมื่อใช้มือทำการสัมผัสจะรู้สึกเจ็บ ซึ่งในช่วงนี้จะเป็นในช่วงระยะเวลาของการฟักตัวจากนั้นประมาณ 1 สัปดาห์ บริเวณที่ปวดจะมีผื่นสีแดง ๆ ขึ้น ก่อนที่จะกลายเป็นตุ่มน้ำในเวลาที่รวดเร็ว โดยตุ่มน้ำอาจจะเกิดขึ้นในลักษณะเป็นกลุ่ม และเรียงเป็นเส้นยาวไปตามแนวเส้นของประสาท บริเวณที่พบผื่นงูสวัดได้มากที่สุดคือบริเวณหน้าอก และเอวข้างใดข้างหนึ่ง ซึ่งจะมีโอกาสที่น้อยมาก ๆ หรือแทบจะไม่มีโอก่สเลยที่จะมีการเกิดงูสวัดขึ้นทั้ง 2  ข้างของร่างกายในคนปกติบางครั้งอาจจะมีผื่นขึ้นบริเวณใบหน้า ลำคอ หรอในดวงตาได้อีกด้วย จากนั้นตุ่มน้ำจะแตกออกและทำการตกสะเก็ด โดยจะใช้เวลาประมาณ 2 – 6 สัปดาห์ กว่าจะหายดีเป็นปกติ

 

โรคงูสวัด

โรคงูสวัดคือ อะไร อาการของโรคงูสวัดเป็นอย่างไร น่ากลัวหรือไม่ อันตรายใกล้ตัวควรระวัง!! ดูได้ที่นี้

วิธีการรักษางูสวัด

การรักษาโรคงูสวัด มีดังนี้ โรคงูสวัดเมื่อเป็นแล้วก็อาจจะสามารถเป็นซ้ำอีกได้ การรักษาโรคงูสวัดจะรักษาตามอาการร่วมกับใช้ยาต้านไวรัสเพื่อเร่งกระบวนการการหายของโรค และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน นอกจากนี้แล้ว ทางแพทย์อาจจะใช้ยาลดอาการปวด เช่น ยากลุ่มลดการอักเสบที่ไม่ใช้สเตียรอยด์ ยาต้านเศร้า และยาทาบางชนิด เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดที่มีความรุงแรงของงูสวัด หลังจากอาการทางผิวหนังนั้นหายเป็นปกติแล้ว ยังมีอาการปวดตต่อเนื่องซึ่งเป็นอาการที่พบได้หลังจากเป็นงูสวัด ทางแพทย์อาจจะจ่ายยารักษาอาการปวดที่ปลายประสาทร่วมด้วย

บทความที่เกี่ยวข้อง : รู้ทัน ๆ โรคผิวหนัง ที่มากับหน้าร้อน และวิธีดูแลรักษาเบื้องต้น เพื่อไม่ให้ลุกลาม

 

การป้องกันการแพร่กระจายของโรคงูสวัด

  • การสัมผัสตุ่มน้ำ หรือแผลของผู้ที่ป่วยเป็นโรคงูสวัดอาจจะทำให้ผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันเกิดเป็นโรคอีสุกอีใสได้ ดังนั้น ควรจะแยกข้าวของเครื่องใช้ เครื่องนุ่มห่ม ที่นอน ผ้าเช็ดตัว เพื่อป้องกันการสัมผัส
  • ในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเป็นโรคงูสวัดแบบแพร่กระจาย สามารถแพร่กระจายเชื้อได้ทางการหายใจ ดังนั้น ควรแยกผู้ป่วย ไม่ใกล้ชิดกับผู้ที่ไม่เคยเป็นโรค เด็กเล็ก และหยิงที่ตั้งครรภ์

 

การป้องกันการเกิดโรคงูสวัด ?

ในปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคงูสวัดแล้ว โดยสามารถลดโอกาสการเกิดโรคงูสวัด หรือหากว่าเกิดการติดเชื้อจะสามารถลดความรุนแรงของอาการงูสวัด และอาการปวกหลังการติดเชื้อได้

 

โรคงูสวัด

โรคงูสวัดคืออะไร อาการของโรคงูสวัด เป็นอย่างไร น่ากลัวหรือไม่ อันตรายใกล้ตัวควรระวัง!! ดูได้ที่นี้

อาการแทรกซ้อนของโรคงูสวัด ?

แม้ว่าโรคงูสวัดจะเจ็บปวด และน่ารำคาญได้เอง แต่สิ่งสำคัญคือต้องติดตามดูอาการของคุณเพื่อหาภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้รวมถึง:

  • ความเสียหายของดวงตา ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้หากคุณมีผื่น หรือตุ่มพองใกล้กับดวงตามากเกินไป ( กระจกตามีความเสี่ยงเป็นพิเศษ)
  • การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง ซึ่งเกิดขึ้นได้ง่ายจากแผลเปิดและอาจรุนแรงได้
  • โรคปอดบวม
  • กลุ่มอาการแรมเซย์ ฮันต์ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้หากโรคงูสวัดส่งผลต่อเส้นประสาทในศีรษะ และอาจส่งผลให้ใบหน้าเป็นอัมพาตบางส่วนหรือสูญเสียการได้ยินหากไม่ได้รับการรักษา หากรักษาภายใน 72 ชั่วโมง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะฟื้นตัวเต็มที่
  • การอักเสบของสมองหรือไขสันหลัง เช่นโรคไข้สมองอักเสบหรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบซึ่งร้ายแรงและเป็นอันตรายถึงชีวิต

บทความที่เกี่ยวข้อง : อาการชัก และ โรคลมชักในเด็ก ส่งผลอย่างไรกับสมองของลูก

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

โรคซึมเศร้า คืออะไร เป็นโรคซึมเศร้าสามารถรักษาหายได้ หรือไม่? แล้วมีอาการเป็นอย่างไร!!

โรคเอ็ดเวิร์ดซินโดรม โรคปากแหว่งเพดานโหว่ โรคทางพันธุกรรมที่พบในเด็ก

อาการชัก และ โรคลมชักในเด็ก ส่งผลอย่างไรกับสมองของลูก

 

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

ขอขอบคุณข้อมูลจาก : 1 , 2 , 3

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Kittipong Phakklang

  • หน้าแรก
  • /
  • เจ็บป่วย
  • /
  • โรคงูสวัด คืออะไร อาการของโรคงูสวัดเป็นอย่างไร น่ากลัวหรือไม่ อันตรายใกล้ตัวควรระวัง!!
แชร์ :
  • ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ คนท้อง เป็นอย่างไร อันตรายต่อลูกน้อยในครรภ์แค่ไหน?

    ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ คนท้อง เป็นอย่างไร อันตรายต่อลูกน้อยในครรภ์แค่ไหน?

  • คนท้องเป็นตะคริวที่ขา เป็นตะคริวบ่อยตอนท้องปกติไหม อันตรายหรือเปล่า?

    คนท้องเป็นตะคริวที่ขา เป็นตะคริวบ่อยตอนท้องปกติไหม อันตรายหรือเปล่า?

  • 8 เคล็ดลับ! ดูแลจุดซ่อนเร้นตอนท้อง ต้องดูแลน้องสาวอย่างไร?

    8 เคล็ดลับ! ดูแลจุดซ่อนเร้นตอนท้อง ต้องดูแลน้องสาวอย่างไร?

  • ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ คนท้อง เป็นอย่างไร อันตรายต่อลูกน้อยในครรภ์แค่ไหน?

    ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ คนท้อง เป็นอย่างไร อันตรายต่อลูกน้อยในครรภ์แค่ไหน?

  • คนท้องเป็นตะคริวที่ขา เป็นตะคริวบ่อยตอนท้องปกติไหม อันตรายหรือเปล่า?

    คนท้องเป็นตะคริวที่ขา เป็นตะคริวบ่อยตอนท้องปกติไหม อันตรายหรือเปล่า?

  • 8 เคล็ดลับ! ดูแลจุดซ่อนเร้นตอนท้อง ต้องดูแลน้องสาวอย่างไร?

    8 เคล็ดลับ! ดูแลจุดซ่อนเร้นตอนท้อง ต้องดูแลน้องสาวอย่างไร?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ