X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกกินเยอะ เกินไปหรือเปล่า? คุณแม่อย่าลืมเช็คการกินของลูก ๆ นะคะ

บทความ 5 นาที
ลูกกินเยอะ เกินไปหรือเปล่า? คุณแม่อย่าลืมเช็คการกินของลูก ๆ นะคะลูกกินเยอะ เกินไปหรือเปล่า? คุณแม่อย่าลืมเช็คการกินของลูก ๆ นะคะ

ด้วยความกังวลเกี่ยวกับโรคอ้วนในเด็กที่เพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน คนเป็นพ่อแม่ย่อมต้องใส่ใจกับอาหารการกินของลูกน้อยมากขึ้น เราจะรู้ได้อย่างไรว่าลูกกินเยอะหรือน้อยเกินไป? อะไรทำให้ลูกกินเยอะ? คำตอบของคำถามเหล่านี้ขึ้นอยู่กับตัวเด็กแต่ละคน เรามีแนวทางที่คุณสามารถนำไปใช้สังเกตนิสัยการกินของลูกได้มาแนะนำกัน

คุณแม่หลายท่านมีความเป็นกังวลเรื่องการรับประทานของลูกน้อยในวัยกำลังเจริญเติบโตว่าพวกเขากินน้อยจนเกินไป จะทำให้พวกเขาไม่แข็งแรง และการเจริญเติบโตจะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ แต่คุณแม่บางบ้านก็ต้องประสบปัญหา ลูกกินเยอะ และกลัวว่าลูกนั้นจะมีโรคอื่น ๆ ตามมาหรือเปล่า มาลองเช็กกันดูดีกว่าค่ะว่าลูกของคุณกินมากเกินไป หรือคุณแค่คิดไปเอง

 

ลูกกินเยอะ เกินไปหรือเปล่า? คุณแม่อย่าลืมเช็กการกินของลูก ๆ นะคะ

แม่อย่างเราต้องเตรียมตัวในเรื่องต่าง ๆ สำหรับลูกให้พร้อมอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่อง อาหาร การกิน ของลูก ที่คนเป็นแม่อย่างเราจะต้องพิถีพิถัน นอกจาก เรื่อง โภชนาการ ว่าลูกจะทานครบทั้ง 5 หมู่ หรือไม่ มีกากใย เพียงพอ หรือไม่ เท่านั้นยังไม่พอ ลูกกินเยอะ เกินไปหรือเปล่า จะส่งผลอะไรถึงลูกไหม กินเยอะ มีเหตุผลอะไรบ้าง มาติดตามกันค่ะแม่ ๆ

 

วิดีโอจาก : พ่อม้าน้ําและแม่หมีกรีซลี่

 

1. รู้สึก “หิว” เวลาเห็นคนอื่นกิน

กินเยอะ สัญญาณเตือนที่บ่งบอกว่าลูกคุณอาจมีนิสัยการกินที่ผิดปกติ คือเมื่อเด็กอยากกินทุกครั้งที่มีอาหารวางบนโต๊ะ และ คอยถามคนอื่นว่า “ หนูขอกินนิดนึงได้มั้ย ” “ หนูขอกินบ้างได้มั้ย ” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเด็กเพิ่งกินข้าวเข้าไป

อย่าเชื่อคำพูดของเด็กเสมอไป ถ้าเขาพูดว่า “หิว” ทุกครั้งที่เห็นคนอื่นกิน มีความเป็นไปได้สูงว่าจริง ๆ แล้วเขาไม่ได้หิว แต่แค่รู้สึกอยากกินเพราะเห็นอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเขาเพิ่งกินข้าวมา ในกรณีนี้ คุณควรคุมอาหารให้ลูกตั้งแต่ยังเล็ก และ ให้กินวันละสามมื้อไม่ขาดไม่เกิน เท่านี้ คุณก็จะสามารถคุมปริมาณอาหารและไม่ทำให้ลูกติดนิสัยกินจุบจิบระหว่างวัน

บทความที่เกี่ยวข้อง : สาเหตุโรคอ้วนในเด็ก กินให้หมดจาน!

 

2. กินจุบจิบหรือเปล่า?

การกินขนมจุบจิบไม่ได้เป็นแค่ปัญหาทั่วไป แต่ยังเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ คุณจึงควรฝึกนิสัยการกินที่ดีให้กับลูก เด็ก ๆ มักชอบกินขนมเวลาเบื่อ ไม่มีอะไรทำ ซึ่งอาจส่งผลเสียร้ายแรงต่อสุขภาพได้ในอนาคต

บทความที่น่าเกี่ยวข้อง : มัวแต่ระวังโรคอ้วนในเด็ก จนลืมโรคขาดสารอาหาร

 

ลูกกินเยอะ 11

 

3. กินข้าวไปแล้วแต่ยังหิวอยู่

การจะกำหนดปริมาณอาหารที่เหมาะสมนั้นขึ้นอยู่กับตัวเด็กแต่ละคน เด็กบางคนมีการเผาผลาญดี หรือ อาจจะกระโดดโลดเต้นมากกว่าเด็กทั่วไป ซึ่งในกรณีนี้พวกเขาอาจต้องการพลังงานมากขึ้น แต่พึงระวัง หากลูกกินเยอะ แต่น้ำหนักยังลดลง อาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น พยาธิ เป็นต้น ถ้าลูกกินอาหารมากเกินจำเป็น อาจมีสาเหตุมาจากความเบื่อหรือโรคบางอย่างก็ได้

 

4. แอบเอาอาหารเข้าไปกินในห้อง

นี่รวมไปถึงน้ำหวาน ตุนขนม หรือแม้แต่การหลอกล่อให้พี่น้องหรือเพื่อนแบ่งขนมให้กิน คุณควรจับตามองพฤติกรรมเช่นนี้อย่างใกล้ชิด เพราะมันมักเกิดจากสาเหตุที่ร้ายแรงกว่าแค่ความหิวโหย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเด็กมีพฤติกรรมนี้ร่วมกับพฤติกรรมอื่น ๆ ดังที่เราได้อธิบายไปข้างต้น

สาเหตุที่ร้ายแรงกว่า “ความหิว” เช่น ความผิดปกติของร่างกายและจิตใจ อย่างการกินมากเกินไป ซึ่งเด็กจะไม่รู้จักคำว่าอิ่ม หรือสาเหตุอื่น ๆ เช่น ความเครียด ซึ่งเกิดจากแรงกดดันภายนอก สาเหตุที่ทำให้เด็กกินมากเกินพอดีมักเกิดจากความต้องการที่จะชดเชยบางสิ่งบางอย่างที่ขาดหายไป เช่น ความสนใจ ความช่วยเหลือ หรือ ภาพลักษณ์ของตัวเอง ในกรณีนี้ ถ้าคุณไม่สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตัวเอง ลองปรึกษากุมารแพทย์หรือนักโภชนากรเกี่ยวกับอาหารการกินของลูก แต่ถ้าคุณยังไม่สังเกตเห็นสัญญาเหล่านี้ พยายามให้ลูกกินของที่มีประโยชน์ เช่น ผลไม้ ขนมธัญพืช หรือน้ำผลไม้ เป็นขนมแทน

 

ลูกกิน เยอะ

 

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพ และ สังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และ เอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และ เด็ก รวมถึงแอปพลิเคชัน The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และ ผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และ สื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่ และเด็กโภชนาการแม่ และ เด็กกิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และ จิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้ และ มีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง เพราะ เราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

 

บทความที่น่าสนใจ

กินอะไรให้ลูกฉลาด 10 อาหารที่กินแล้วลูกในท้องฉลาด กินแล้วดีต่อลู​ก

10 อาหารเพิ่มน้ำหนักลูก ลูกกินอะไรถึงจะน้ำหนักขึ้นอย่างปลอดภัย

10 อาหารอันตรายหน้าโรงเรียน ภัยอันตรายจากอาหารหน้าโรงเรียน

 

ที่มา : 1

บทความจากพันธมิตร
5 พฤติกรรมทำร้ายผิวลูกรัก ที่คุณแม่อาจทำโดยไม่รู้ตัว
5 พฤติกรรมทำร้ายผิวลูกรัก ที่คุณแม่อาจทำโดยไม่รู้ตัว
ความสูงของลูก ต้องดูแลเรื่องโภชนาการให้ดีใน 5 ขวบปีแรก
ความสูงของลูก ต้องดูแลเรื่องโภชนาการให้ดีใน 5 ขวบปีแรก
Bifidus BL จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในนมแม่ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน เพื่อเด็กผ่าคลอด
Bifidus BL จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในนมแม่ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน เพื่อเด็กผ่าคลอด
รู้จักกับ PHP (โปรตีนที่ผ่านการย่อยบางส่วน) หนึ่งในสารอาหารสำคัญที่พบในนมแม่ เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดภูมิแพ้ และช่วยให้สบายท้อง เพื่อลูกพร้อมสนุกกับทุกการเรียนรู้
รู้จักกับ PHP (โปรตีนที่ผ่านการย่อยบางส่วน) หนึ่งในสารอาหารสำคัญที่พบในนมแม่ เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดภูมิแพ้ และช่วยให้สบายท้อง เพื่อลูกพร้อมสนุกกับทุกการเรียนรู้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • โภชนาการ
  • /
  • ลูกกินเยอะ เกินไปหรือเปล่า? คุณแม่อย่าลืมเช็คการกินของลูก ๆ นะคะ
แชร์ :
  • แก้ปัญหาโรคอ้วนในเด็ก วิธีป้องกันโรคอ้วน ต้องทำอย่างไร

    แก้ปัญหาโรคอ้วนในเด็ก วิธีป้องกันโรคอ้วน ต้องทำอย่างไร

  • สัญญาณบ่งบอกว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือไม่ จะรู้ได้ไงว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือเปล่า

    สัญญาณบ่งบอกว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือไม่ จะรู้ได้ไงว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือเปล่า

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

app info
get app banner
  • แก้ปัญหาโรคอ้วนในเด็ก วิธีป้องกันโรคอ้วน ต้องทำอย่างไร

    แก้ปัญหาโรคอ้วนในเด็ก วิธีป้องกันโรคอ้วน ต้องทำอย่างไร

  • สัญญาณบ่งบอกว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือไม่ จะรู้ได้ไงว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือเปล่า

    สัญญาณบ่งบอกว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือไม่ จะรู้ได้ไงว่าลูกกินนมแม่อิ่มหรือเปล่า

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ