X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

มะเร็งปากมดลูก ภัยร้ายใกล้ตัวของผู้หญิง อันตรายถ้าไม่รีบตรวจ?

บทความ 5 นาที
มะเร็งปากมดลูก ภัยร้ายใกล้ตัวของผู้หญิง อันตรายถ้าไม่รีบตรวจ?

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นโรคติดอันดับที่หญิงไทยเป็นกัน แต่หากเตรียมความพร้อมก่อน หมั่นดูแลรักษาตนเอง รับรองว่าปลอดภัยหายห่วง

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่เกิดจากปากมดลูกของผู้หญิง มีอาการที่เตือนว่ากำลังเป็นมะเร็งปากมดลูกคือ ตกขาวมากกว่าปกติ ตกขาวคล้ายหนอง เลือดออกจากช่องคลอดอย่างผิดปกติโดยที่ไม่ใช้เลือดประจำเดือน มีเลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์ หรือผู้สูงอายุที่อยู่ในช่วงประจำเดือนหมดแล้วแต่มีเลือดออกจากช่องคลอด ซึ่งในโดยทั่วไปแล้วมักจะไม่พบอาการแสดงในระยะแรกเริ่ม แต่จะรู้ตัวก็ต่อเมื่อเซลล์มะเร็งเริ่มลุกลามไปเยอะมากแล้ว เรามาดูกันว่าอาการของมะเร็งปากมดลูกเป็นอย่างไร สาเหตุเกิดอะไร?

 

โรคมะเร็งปากมดลูก

มะเร็งปากมดลูก อาการเป็นอบ่างไร?

มะเร็งปากมดลูกคืออะไร?

มะเร็งปากมดลูกคือ ก้อนเนื้อร้ายที่เกิดขึ้นบริเวณในมดลูก ช่องคลอด มะเร็งปากมดลูกส่วนมากแล้วมักจะเกิดขึ้นกับผู้หญิงวัย 50 ปี รวมไปถึงผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกจำนวนมากที่แต่งงานแล้วตั้งแต่อายุน้อย ตั้งครรภ์เร็ว และเป็นผู้ที่ติดเชื้อ HPV แต่ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ โรคมะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้มที่สามารถเกิดกับผู้หญิงที่มีอายุน้อยอีกด้วย

 

ขอขอบคุณวีดีโอจาก : https://www.youtube.com/watch?v=Oh4_VAoRM0I , Mahidol Channel มหิดล แชนแนล

 

สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูก คืออะไร?

โรคมะเร็งปากมดลูกส่วนใหญ่แล้ว 70 เปอร์เซ็นต์ เกิดมาจากเชื้อ HPV (Human Papillomavirus) รองลงมาคือการสูบบุหรี่ และภูมิคุ้มกันในร่างกายบกพร่อง รวมไปจนถึงปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวพันกันก็สามารถทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ เช่น การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ในระยะก่อนมะเร็งมดลูก และการมีลูกหลายคนก็มีความเกี่ยวข้อง

 

โรคมะเร็งปากมดลูก มีอาการอย่างไรบ้าง?

  • ชูบผอม โลหิตจาง เป็นไข้ และเกิดภาวะอ่อนเพลีย เป็นต้น
  • ประจำเดือนมาผิดปกติ หรือเมื่อประจำเดือนหมดแล้วยังมีเลือดออกมาจากช่องคลอด
  • มีอาการปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ท้องผูก
  • มีอาการเจ็บปวดอย่างรุนแรงในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
  • น้ำคัดหลั่งจากช่องคลอดมากเพิ่มขึ้น น้ำคัดหลั่งมีสีเหลืองที่ปนไปด้วยเลือดออกมาจากช่องคลอด

บทความที่เกี่ยวข้อง : โรค กระเพาะ โรคสุดฮิตที่เราไม่ควรมองข้าม สาเหตุเกิดจากอะไร?

 

โรคมะเร็งปากมดลูก

มะเร็งปากมดลูก มีสาเหตุเกิดมาจากอะไร?

การวินิจฉัย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นอย่างไร?

โดยที่แพทย์จะทำการตรวจร่างกาย โดยการตรวจภายในและคัดกรองหาความผิดปกติของเซลล์ที่ปากมดลูกด้วย (Pap Smear) ซึ่งเป็นการตรวจความสมบูรณ์ของเซลล์บริเวณปากของมดลูก ว่ามีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่ผิดปกติหรือไม่ ในบางครั้งผลตรวจที่อาจจะพบความผิดปกติของเซลล์นั้น ก็อาจไม่ใช้เซลล์ของมะเร็งเสมอไป ในกรณีที่ตรวจโดย (Pap Smear) สงสัยความผิดปกติ เช่น การตัดชิ้นเนื้อที่บริเวณปากมดลูก โดยแพทย์จะวินิจฉัยร่วมกันกับผลตรวจอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น การอันตราซาวน์ เอกซ์เรย์จากคอมพิวเตอร์ เอกซ์เรย์ปอด ผลตรวจของเลือด เอกซ์เรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อประเมินว่ามะเร็งอยู่ในระยะไหนแล้ว เพื่อที่อพทย์จะได้วางแผนของการรักษาที่ถูกต้อง

 

วิธีการตรวจคัดกรอง โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นอย่างไร?

  • ทำความคุ้นเคย และเข้าใจกับอาการมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกเริ่ม หากเกิดอาการเหล่านี้ ควรรีบไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล
  • ตรวจทางนรีเวชตามกำหนด สามารถช่วยค้นพบการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ปากมดลูกในระยะแรกได้
  • โรคปากมดลูกอักเสบ มีโอกาสพัฒนาเปลี่ยนเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกได้ แบบนั้นต้องกระตือรือร้นมากในการรักษาโรคปากมดลูกอีกเสบ

วิธีการรักษา โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นแบบไหนบ้าง?

วิธีการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกขึ้นอยู่กับระยะของอาการผู้ป่วย โดยก่อนที่จะทำการรักษาแพทย์กับผู้ป่วยจะต้องปรึกษา และตัดสินใจร่วมกันก่อนว่าข้อดี และข้อเสียของการรักษาเป็นอย่างไร ผลกระทบและภาวะแทรกซ้อนหลังรักษา การเลือกประเภทของการรักษาตามระยะอาการที่ป่วย โอกาสเปอร์เซ็นต์ความสำเร็จจากการรักษา

  • วิธีการรักษาที่ใช้ในระยะก่อนมะเร็ง คือการผ่าตัดบางส่วนของปากมดลูกที่มีรอยของโรคด้วยวิธี (Large Loop Excision of the Transformation Zone) ซึ่งเป็นการตัดชิ้นเนื้อเยื่อปากมดลูกด้วยห่วงลวดไฟฟ้า และการผ่าตัด (Cone Biopsy) ซึ่งเป็กการผ่าตัดเอาเนื้อเยื่อปากมดลูกออกเป็นรูปกรวย และใช้เลเซอร์จี้เซลล์ที่ผิดปกติออก และนัดติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  • ผู้ป่วยที่ตรวจพบเซลล์ของมะเร็งแล้ว ต้องรักษาตามระยะ และอาการที่พบด้วยเพราะในบางรายอาจจะมีภาวะแทรกซ้อนจากการเป็นมะเร็งลุกลามไปตามส่วนต่าง ๆ และอาจจะใช้วิธีในการรักษาร่วมกันมากกว่า 1 วิธีโดยแพทย์ที่จะพิจารณาตามความเหมาะสมของสภาพร่างกาย
  • วิธีการรักษาของผู้ป่วยที่พบมะเร็งแล้ว ได้แก่ รังสีเคมี เคมีบำบัด และการผ่าตัดปากมดลูก มดลูก รังไข่ ขึ้นกับความเหมาะสมของผู้ป่วย ตามระดับของความรุนแรง และบริเวณอวัยวะที่ถูกมะเร็งลุกลาม โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งในระยะแรกเริ่ม จะใช้วิธีการรักษาเป็นการผ่าตัดร่วมกับการใช้ยาเคมีบำบัด ส่วนผู้ป่วยที่มีการลุกลามของมะเร็งที่มากขึ้นมักจะใช้วิธีของการฉายแสงรังสีรักษาร่วมกับการใช้ยาเคมีบำบัด

 

โรคมะเร็งปากมดลูกมีกี่ระยะ แบ่งระยะอย่างไร?

โรคมะเร็งปากมดลูกมีอยู่ 5 ระยะดังนี้

  • ระยะ ที่ 0 : เซลล์มะเร็งยังอยู่บริเวณของผิวส่วนบนของปากมดลูก มะเร็งปากมดลูกในระยะ 0 เรียกได้อีกชื่อว่า มะเร็งในจุดกำเนิด
  • ระยะที่ 1 : เซลล์มะเร็งอยู่ที่ปากมดลูก และเริ่มที่จะลุกลามแล้ว
  • ระยะ ที่ 2 : เซลล์มะเร็งลุกลามเข้าไปในช่องคลอด แต่ยังไม่ถึง 1/3 ของช่องคลอด หรืออาจจะลุกลามไปตามเนื้อรอบข้างของปากมดลูก แต่ก็ยังไม่ถึงเชิงกราน
  • ระยะที่ 3 : เซลล์มะเร็งลุกลามเข้าไปถึง 1/3 ส่วนล่างของช่องคลอด หรือลุกลามไปจนถึงกระดูกเชิงกราน หรือไปกดทับท่อไต ทำให้เกิดการอุดตันในระบบปัสสาวะ
  • ระยะที่ 4 : เซลล์มะเร็งลามออกจากส่วนอวัยวะเพศ หรือผ่านกระดูกเชิงกรานลามเข้าไปในลำไส้ และกระเพาะปัสสาวะโดยตรง หรือแม้แต่ลุกลามไปบริเวณอื่น ๆ ตามร่างกาย

บทความที่เกี่ยวข้อง : อย่าให้มะเร็งทำอนาคตของครอบครัวสะดุด ประกันมะเร็ง ตรวจพบรับเงินก้อน สูงสุด 3,000,000 บาท

 

โรคมะเร็งปากมดลูก

มะเร็งปากมดลูก มีอยู่กี่ระยะ?

การป้องกัน โรคมะเร็งปากมดลูกมีอะไรบ้าง?

วิธีของการป้องกันของโรคมะเร็งปากมดลูก และลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งปากมดลูก สามารถทำได้โดยการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัส HPV ที่สามารถป้องกันไวรัสนี้ได้บางสายพันธุ์ รวมไปถึงสายพันธ์ที่มีความเสี่ยงสูง ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ HPV ด้วยตนเอง ด้วยการป้องกันขณะที่มีเพศสัมพันธ์ ใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคติดต่อ ไม่เปลี่ยคู่นอนบ่อย ๆ ไม่สูบบุหรี่ และดูแลสุขภาพร่างกายตนเอง

บทความที่เกี่ยวข้อง : มะเร็งมีค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ สิทธิประกันสังคม และสิทธิบัตรทอง คุ้มครองอะไรได้บ้าง

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

รอยฟกช้ำ จ้ำเลือดง่าย อาการและสาเหตุ ทุกเรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับอาการช้ำง่าย

ยารักษาโรคเก๊าท์  10 วิธีบรรเทาอาการโรคเก๊าท์ทำได้ง่ายๆที่บ้าน

โรคทางพันธุกรรม คืออะไรอันรายหรือไม่ ป้องกันได้รึเปล่า?

 

แหล่งที่มา : (1), (2)

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

chonthichak88

  • หน้าแรก
  • /
  • เจ็บป่วย
  • /
  • มะเร็งปากมดลูก ภัยร้ายใกล้ตัวของผู้หญิง อันตรายถ้าไม่รีบตรวจ?
แชร์ :
  • วัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก ฉีด VS ไม่ฉีด มาไขข้อข้องใจกัน!

    วัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก ฉีด VS ไม่ฉีด มาไขข้อข้องใจกัน!

  • มะเร็งปากมดลูก เกิดจากอะไร? สัญญาณเตือนมะเร็งปากมดลูก มีอะไรบ้าง?

    มะเร็งปากมดลูก เกิดจากอะไร? สัญญาณเตือนมะเร็งปากมดลูก มีอะไรบ้าง?

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • วัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก ฉีด VS ไม่ฉีด มาไขข้อข้องใจกัน!

    วัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก ฉีด VS ไม่ฉีด มาไขข้อข้องใจกัน!

  • มะเร็งปากมดลูก เกิดจากอะไร? สัญญาณเตือนมะเร็งปากมดลูก มีอะไรบ้าง?

    มะเร็งปากมดลูก เกิดจากอะไร? สัญญาณเตือนมะเร็งปากมดลูก มีอะไรบ้าง?

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ