X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

โรคทางพันธุกรรม คืออะไรอันรายหรือไม่ ป้องกันได้รึเปล่า?

บทความ 5 นาที
โรคทางพันธุกรรม คืออะไรอันรายหรือไม่ ป้องกันได้รึเปล่า?โรคทางพันธุกรรม คืออะไรอันรายหรือไม่ ป้องกันได้รึเปล่า?

โรคทางพันธุกรรม หรือ โรคติดต่อทางพันธุกรรม เรามักเคยได้ยินในหลาย ๆ ครั้ง ที่ลูกหลาน เป็นโรคเดียวกันกับพ่อแม่ ซึ่งโรคต่าง ๆ เหล่านั้น สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ จึงถูกเรียกว่ส “โรคทางพันธุกรรม” นั่นเอง มาดูว่าโรคทางพันธุกรรม มีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไร

 

โรคทางพันธุกรรมคืออะไร?

โรคทางพันธุกรรม (Genetic Disorders) คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติในพันธุกรรม หรือ โครโมโซม ซึ่งทำให้สามารถถ่ายทอดจากครอบครัว ไปยังลูก หลาน ได้ จึงเป็นความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดของรุ่นต่อ ๆ ไป ซึ่งโรคทางพันธุกรรมนี้จะสามารถรักษาได้ ก็ต่อเมื่อทารกคลอดออกมาแล้วเท่านั้น และยังไม่มีวิธีที่รักษาให้หายขาดได้ มีเพียงวิธีรักษาตามอาการ และการติดตามผลเป็นระยะ ๆ เท่านั้น

โรคทางพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรมมีกี่ประเภท?

โรคทางพันธุกรรม สามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภท ตามการเกิดโรค และลักษณะทางพันธุกรรม ดังนี้

  1. โรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีนเดี่ยว (Single Gene Disorder)

โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากการผ่าเหล่าของยีน โดยอาจเกิดขึ้นที่โครโมโซมแท่งเดียว หรือ โครโมโซมหลายแท่ง ซึ่งความผิดปกติอาจเกิดการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของยีน 2 ชนิด ได้แก่ ยีนเด่น และ ยีนด้อย ดังนี้

  • โรคที่เกิดจากยีนเด่น (Autosomal Dominant) เกิดจากการที่ทารกได้รับยีนเด่นมาจากพ่อ หรือ แม่ ซึ่งการได้รับยีนเด่นที่มีพันธุกรรมผิดปกติเพียง 1 ยีน สามารถเปิดโอกาสให้เกิดโรคทางพันธุกรรมได้มากถึง ร้อยละ 50 แตกต่างจากโรคที่ต้องมียีนด้อย 2 ยีนขึ้นไป ถึงจะมีโอกาสทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรมได้ โรคที่เกิดจากยีนเด่น เช่น โรคประสาทชักกระตุก โรคท้าวแสนปม โรคถุงน้ำในไต เป็นต้น
  • โรคที่เกิดจากยีนด้อย (Autosomal Recessive) โรคที่เกิดจากการได้รับยีนด้อยจากพ่อ และ แม่ โดยพ่อและแม่จะต้องมีสถานะของการเป็นพาหะทั้งคู่เท่านั้น ทารกที่เกิดมาจึงจะมีโอกาสเป็นโรคที่เกิดจากยีนด้อย แต่หากมีพ่อ หรือ แม่ เพียงคนใดคนหนึ่งที่เป็นพาหะ โอกาสที่ทารกจะได้รับยีนที่แสดงโรค ก็จะน้องลงไปด้วย โรคที่เกิดจากยีนด้อย เช่น โรคเม็ดเลือดแดงรูปเครียว โรคซีสติกไฟโบรซีส โรคฟีนิลคีโตนูเรีย เป็นต้น
  • โรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ (X-Linked) เป็นโรคทางพันธุกรรมที่มีโอกาสเกิดได้น้อย โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของยีนเด่น และ ยีนด้อย ที่อยู่ภายในโครโมโซมเพศ ทำให้เกิดโรต่าง ๆ ได้ เช่น โรคฮีโมฟิเลีย เป็นต้น

 

  1. โรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม (Chromosomal Abnormalities Dosorder)

โรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม หรือ จำนวนของโครโฒโซมผิดปกติ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่

  • ความผิดปกติของลักษณะโครโมโซม (Structural Abnormalities) เกิดจากโครโมโซมมีความผิดปกติ เกิดการผิดเพี้ยนไป เช่น ขาดหาย มีโครโมโซมซ้ำกัน ขาดออกจากกัน หรือ มีลักษณะที่ผิดแปลกไป โรคที่เกิดจากความผิดปกตินี้ ได้แก่ โรคมนุษย์หมาป่า โรคจาคอบเซน เป็นต้น
  • ความผิดปกติของจำนวนโครโมโซม (Numerical Abnormalities) เกิดจากการที่จำนวนของโครโมโซม มีความขาด หรือ เกิน โรคทางพันธุกรรมในกลุ่มนี้ ได้แก่ ดาวน์ซินโดรม และ โรคเทอร์เนอร์ เป็นต้น

 

  1. โรคที่เกิดจากการกลายพันธุ์ของพันธุกรรม (Complex Disorders)

เป็นโรคที่เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีน  โดยมีปัจจัยมาจากกการใช้ชีวิต หรือ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โรคที่พบได้บ่อย ได้แก่ โรคอัลไซเมอร์ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคอ้วน เป็นต้น

โรคทางพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อย

  • โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
  • โรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
  • โรคประสาทชักกระตุก ( Huntington’s Disease)
  • โรคดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome)
  • โรคซีสติกไฟโบรซีส (Cystic Fibrosis)
  • โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว (Sickle Cell Disease)
  • โรคถุงน้ำในไต (Polycystic Kidney Disease)
  • โรคตาบอดสี

 

การรักษาโรคทางพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรม เป็นโรคที่เกิดจากสารพันธุกรรม ที่เป็นต้นกำเนิดของเซลล์ในร่างกาย ทำให้โรคทางพันธุกรรมส่วนใหญ่ ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถทำได้เพียงประคองอาการของผู้ป่วย ให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติที่สุด และผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้าพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อติดตามอาการ รักษาไม่ให้อาการทรุดลง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

 

ในปัจจุบันยังสามารถทำการรักษาได้ด้วยวิธี ยีนบำบัด (Gene Therapy) ซึ่งเป็นการรักษาที่จะเข้าไปเปลี่ยนแปลงยีนของผู้ป่วย ช่วยทำให้ความผิดปกติของยีนลดลง หรือ อาจหมดไปได้ แต่การรักษาในลักษณะนี้ ยังไม่ได้รับการยืนยัน ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหน เป็นวิธีการรักษาที่อยู่ในขั้นตอนการวิจัย

 

โรคทางพันธุกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ ไม่ว่าจะด้วยความผิดปกติในลักษณะใดก็ตาม เป็นโรคที่ไม่สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ แต่ผู้ป่วยสามารถรับมือได้ ด้วยการเข้ารับการรักษา ดูแลตนเอง และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด เพื่อควบคุมอาการ ไม่ให้อาการแย่ลง และเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

 

 

 

บทความจากพันธมิตร
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้

ที่มาข้อมูล 1 2

บทความที่น่าสนใจ

โรคทางพันธุกรรม ที่ลูกอาจติดจากพ่อแม่ มีอะไรบ้าง จะรับมืออย่างไร

ตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ เลี่ยงโรคทางพันธุกรรมที่จะเกิดขึ้น

โรคติดต่อในสถานศึกษา 5 โรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล มีอะไรบ้าง

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Waristha Chaithongdee

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • โรคทางพันธุกรรม คืออะไรอันรายหรือไม่ ป้องกันได้รึเปล่า?
แชร์ :
  • ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

    ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

  • โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
    บทความจากพันธมิตร

    โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม

  • ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

    ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

app info
get app banner
  • ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

    ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

  • โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
    บทความจากพันธมิตร

    โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม

  • ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

    ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ