X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เจ็บเต้านม เจ็บหน้าอกหลังคลอด สาเหตุและวิธีบรรเทาอาการที่ถูกต้อง

บทความ 5 นาที
เจ็บเต้านม เจ็บหน้าอกหลังคลอด สาเหตุและวิธีบรรเทาอาการที่ถูกต้องเจ็บเต้านม เจ็บหน้าอกหลังคลอด สาเหตุและวิธีบรรเทาอาการที่ถูกต้อง

ปัญหาส่วนใหญ่ของผู้หญิงคือ เจ็บเต้านม แต่การเจ็บนมนั้นก็มีหลายสาเหตุ แต่การ เจ็บเต้านมก็มีหลายสาเหตุด้วยกัน วันนี้เราเลยเอาวิธีบรรเทาอาการเจ็บเต้านมมาฝากกันค่ะ

 

การเจ็บเต้านม 

การเจ็บเต้านม จะมีอาการเจ็บปวดตุบ ๆ เจ็บแปลบ รู้สึกแน่น ๆ หรือแสบร้อนที่หน้าอก ขึ้นอยู่กับสาเหตุบางประการ

บทความที่เกี่ยวข้อง : เจ็บเต้านม ส่งสัญญาณอาการเต้านมอักเสบ

 

เจ็บหน้าอกหลังคลอด 

เจ็บเต้านม

มักเป็นอาการปวดทั้ง 2 ข้าง เกิดจากการสร้างน้ำนมแม่มาก แต่ไม่สามารถระบายออก หรือระบายออกไม่ทัน จึงเกิดอาการคัด บวม แข็ง เต้านมจะร้อนผิวแดงเป็นมัน เจ็บ บริเวณลานเต้านมตึงแข็ง น้ำนมไหลไม่ดี

 

อาการที่สังเกตได้ง่าย ๆ 

  • บวม มีน้ำนมเยอะ
  • เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้น
  • เต้านมแข็งตึง เจ็บ และร้อนมากขึ้น
  • ลานหัวนมตึงแข็ง น้ำนมไหลไม่ดี
  • หัวนมหดสั้นลง ลูกดูดไม่ได้
  • อาจจะมีไข้แต่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
  • อาการเต้านมคัดมักจะเป็นทั้ง 2 ข้าง
  • ถ้ามีน้ำนมค้างในเต้านมนาน จะทำให้น้ำนมหยุดไหลชั่วคราว

 

สาเหตุการเจ็บหน้าอกหลังคลอด 

  • ร่างกายสร้างน้ำนมได้มากกว่าปริมาณที่ลูกกิน
  • ทิ้งช่วงในการให้นมลูกนานเกินไป ทำให้มีน้ำนมสะสมในเต้ามาก
  • ให้ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี ทำให้ระบายไม่ดีเท่าที่ควร
  • ให้นมลูกผ่านขวดนมมากกว่าการให้ลูกดูเต้า
  • ลูกมีแรงดูดน้อย ทำให้ไม่สามารถดูดนมได้เต็มที่
  • คุณแม่มีความเครียด อ่อนเพลีย หรือมีภาวะโลหิตจาง
  • หัวนมเป็นแผล

 

หัวนมไม่แตกแต่เจ็บแก้อย่างไร

กรณีคุณแม่เจ็บหัวนมมาก ให้ลูกงดดูดนมแม่สัก 1-2 วัน และบีบน้ำนมทาบริเวณแผลแม่สามารถรับประทานยาบรรเทาปวด พาราเซตามอลได้ทุก 4 – 6 ชั่วโมง ครั้งละ 2 เม็ด ระหว่างงดดูดนม ให้บีบน้ำนมออกทุก 2-3 ชั่วโมง และป้อนนมด้วยถ้วย หรือช้อนไปก่อน ไม่ควรให้ลูกดูดจากขวดนม เพราะจะทำให้เด็กเกิดความสับสนและติดการดูดจุกนมได้

บทความที่เกี่ยวข้อง : หัวนมแตกป้องกันได้ ครีมทาหัวนมแตก ครีมทาแก้หัวนมแตก

 

วิธีลดอาการปวดหัวนม 

  • ลดการดูดลง 

ควรให้ลูกลดการดูดเต้าลงเมื่อมีอาการเจ็บที่เต้านม หรือพักการดูดข้างที่มีอาการเจ็บไปก่อน พออาการดีขึ้นแล้วค่อยให้ลูกดูดใหม่

 

  • ให้ลูกดูดน้ำนมให้ไหล 

เจ็บเต้านม

ถ้ามีอาการปวดเต้านม ส่วนใหญ่คุณแม่จะไม่อยากให้นมลูกมากนัก เพราะกลัวปวด แต่ถ้าลูกดูดจนน้ำนมของแม่ไหล อาการปวดจะบรรเทาลง ยิ่งน้ำนมไหลดีอาการปวดก็ลดลง

 

  • กระตุ้นเต้านมก่อนให้นมลูก 

นวดคลึงก่อนให้นมลูก เพื่อช่วยลดอาการเจ็บปวดเต้านม ไม่ให้ปวดก่อนการให้นมลูก และเพื่อให้ระบบหมุนเวียนเลือดไหลดีขึ้น

 

  • ให้นมลูกบ่อย ๆ 

ควรให้ลูกดูดนมทุก ๆ 2 ชั่วโมง หรือให้มากกว่านั้นตามที่คุณแม่สะดวก การให้ลูกดูดนมจะช่วยลดอาการหย่อนยานของเต้านม ไม่ทำให้เต้านมคัดและเจ็บทรมาน

 

  • ไม่ปล่อยให้หัวนมแห้ง 

เมื่อลูกกินนมเสร็จไม่ต้องเช็ดให้แห้ง ควรมีน้ำนม1-2 หยด เพื่อให้หัวนมชุ่มชื่น เพื่อลดอาการแตกของหัวนม หรือแผลที่หัวนมค่ะ

 

  • ใช้ผลิตภัณฑ์ลดความแห้งตึงของหัวนม 

เลือกผลิตภัณฑ์ที่เป็นธรรมชาติ เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้น ลดอาการแห้งตึง และต้องเช็ดออกทุกครั้งก่อนให้นมลูก

 

  • สวมเสื้อในสบาย ๆ 

สวมเนื้อในแบบผ้าฝ้าย เพื่อลดอาการเจ็บของหัวนม เลี่ยงการใส่ชุดชั้นในยกสูง เพราะจะทำให้เบียดแล้วกดทับกัน

 

  • ครอบหัวนมเวลาให้นมลูก 

คุณแม่ที่น้ำนมไหลดี ๆ สามารถใช้ที่ครอบนมได้ ในตอนแรกคุณแม่อาจจะรำคาญ ไม่ถนัด แต่นาน ๆ ไปคุณแม่จะชินเองค่ะ

 

บทความจากพันธมิตร
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
  • รับประทานยา แก้ปวด 

รับประทานยาแก้ปวด ตามความจำเป็นเช่น พาราเซทตามอล

 

ท่านวดเต้านมหลังคลอด

  • ท่าที่1 : บีบ-นวด ขยับไหล่ ให้คุณแม่นั่งหรือยืนในท่าสบาย ๆ ใช้มือทั้งสองข้างนวดบริเวณบ่า ขยับไหล่ให้เลือดไหลเวียนได้ดี
  • ท่าที่2 : โกยเต้านม นำฝ่ามือทาบบริเวณรักแร้ลงน้ำหนักลงที่ปลายนิ้ว ไล่จากรักแร้มาที่บริเวณลานนม นำฝ่ามือทั้งสองทาบบริเวณอกไล่ลงมาที่ลานนม และวางฝ่ามือวางที่กึ่งกลางระหว่างอกทั้งสองข้าง จากนั้นจดไล่มาถึงลานนม 
  • ท่าที่3 : ตบ ใช้ปลายนิ้วช้อนใต้เต้านม ตบไล่จากล่างขึ้นบน
  • ท่าที่4 : คลึง ใช้ปลายนิ้ว นวดวนเป็นวงกลม โดยรอบเต้านม หากพบก้อนตึงให้ค่อย ๆ นวดคลึงเบา ๆ
  • ท่าที่5 : ยืด วางนิ้วชี้ของมือทั้งสองลงบนหน้าอก กดลงบนเต้านมพร้อม ๆ กับลากนิ้วทั้งสองออกจากกัน ทำเช่นนี้โดยรอบเต้านม
  • ท่าที่6 : รูด ใช้นิ้วโป้ง และ นิ้วชี้ของมือทั้งสอง โอบรอบเต้านมกดมือทั้งสองเข้าหากัน
  • ท่าที่7 : จิ้ม ใช้ปลายนิ้วชี้กด และ คลึงเบา ๆ ลงบนขอบลานนมโดยรอบ
  • ท่าที่8 : บีบ วางนิ้วโป้ง และ นิ้วชี้บนขอบลานนมให้หัวนมอยู่ตรงกลาง ใช้นิ้วทั้งสองกดเข้าหาลำตัว แล้วบีบนิ้วมือทั้งสองเข้าหากันเพื่อระบายน้ำนม

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิธีนวดกระตุ้นนำ้นม ไม่พอด้วยวิธีนี้ เทคนิคนวดเต้าสยบปัญหาท่อน้ำนมอุดตัน

 

คัดและปวดมากจนแตะไม่ได้ควรทำอย่างไร ? 

  • แช่เต้าในกะละมังใส่น้ำที่อุ่นจัดพอทนได้
  • กระตุ้นการหลั่งน้ำนม โดยนวดเต้านมเบา ๆ
  • กระตุ้นการหลั่งน้ำนม โดยใช้หลังนิ้วลูบเบา ๆ ที่เต้านมจากรอบนอกมาทางลานนม
  • แช่เต้าในกะละมังอีกครั้งค่อย ๆ ใช้มือบีบน้ำนมออกทีละน้อยเท่าที่จะทนเจ็บได้

ที่มา : 1 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

อาการคัดเต้านมของคนท้อง เกิดจากอะไร 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 12

ฝึกลูกดูดนม ป้องกันการสำลัก ให้ลูกดูดนมอย่างไรถึงจะถูกวิธี

แม่ให้นมลูก ไม่ต้องซี๊ดซ๊าด หัวนมแตกป้องกันได้!

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

nantichaphothatanapongbow

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • เจ็บเต้านม เจ็บหน้าอกหลังคลอด สาเหตุและวิธีบรรเทาอาการที่ถูกต้อง
แชร์ :
  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 12 น้ำนมไม่ไหล ทำอย่างไร

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 12 น้ำนมไม่ไหล ทำอย่างไร

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 13 อุ้มลูกอย่างไร

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 13 อุ้มลูกอย่างไร

  • 10 ภาพจริงของทารกขณะยังเป็นตัวอ่อนอยู่ในท้องแม่

    10 ภาพจริงของทารกขณะยังเป็นตัวอ่อนอยู่ในท้องแม่

  • สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

    สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

app info
get app banner
  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 12 น้ำนมไม่ไหล ทำอย่างไร

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 12 น้ำนมไม่ไหล ทำอย่างไร

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 13 อุ้มลูกอย่างไร

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 13 อุ้มลูกอย่างไร

  • 10 ภาพจริงของทารกขณะยังเป็นตัวอ่อนอยู่ในท้องแม่

    10 ภาพจริงของทารกขณะยังเป็นตัวอ่อนอยู่ในท้องแม่

  • สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

    สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ