X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สัญญาณอันตรายของเด็ก วัยแรกเกิด - 11 ปี ลูกมีอาการแบบนี้ ควรพบแพทย์ด่วน

บทความ 5 นาที
สัญญาณอันตรายของเด็ก วัยแรกเกิด - 11 ปี ลูกมีอาการแบบนี้ ควรพบแพทย์ด่วน

สัญญาณอันตรายของเด็ก ที่พ่อแม่ควรระวัง วิธีเช็กว่าลูกเรามีอาการปกติหรือไม่ ในวัยตั้งแต่แรกเกิด - 11 ปี ลูกต้องมีอาการแบบไหนถึงควรพบแพทย์โดยด่วน

สัญญาณอันตรายของเด็ก ส่วนใหญ่แล้วเราสามารถดูได้จาก 4 อย่างด้วยกัน คือ ความดันเลือด อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ และอุณหภูมิของร่างกาย ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามาารถบอกถึงสุขภาพโดยรวมของเด็กและผู้ใหญ่ได้เล่นกัน แต่อาจมีความแตกต่างกันเล็กน้อย ซึ่งบางอย่างคุณพ่อคุณแม่สามารถสังเกตได้จากสัญญาณเหล่านี้

สัญญาณอันตรายของวัยทารก

ทารกจะมีอัตราการเต้นหัวใจและอัตราการหายใจที่สูงกว่าผู้ใหญ่ วิธีสังเกตง่ายๆ เลยว่าทารกมีอาการผิดปกติหรือไม่ให้ดูที่บริเวณหน้าอก เนื่องจากเด็กยังมีพัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อได้ไม่ดีนัก หากคุณแม่เห็นการยืดตัวบริเวณหน้าอกได้ดี แสดงว่ากล้ามเนื้อหัวใจปกติเลือดสามาถไหลผ่านไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างสะดวก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจที่ต่ำนั้น แสดงว่าลูกอาจมีสาเหตุจาก ออกซิเจนที่ไม่เพียงพอ อุณหภูมิร่างกายที่ต่ำเกินไป เกิดจากยา หรือปัญหาโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด

ซึ่งจะรู้ได้อย่างไรว่าทารกมีอาการปกติหรือไม่ ดูได้จากสัญญาณชีพ ดังต่อไปนี้

  • อัตราการเต้นของหัวใจ (ทารกแรกเกิดถึง 1 เดือน): 85 ถึง 190 ครั้งต่อนาที เมื่อตื่นนอน
  • อัตราการเต้นของหัวใจ (1 เดือนถึง 1 ปี): 90 ถึง 180 ครั้งต่อนาที เมื่อตื่นนอน
  • อัตราการหายใจ: 30 ถึง 60 ครั้งต่อนาที
  • อุณหภูมิ: 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 37 องศาเซสเซียส
  • ความดันโลหิต ทารกแรกเกิด (96 ชั่วโมงถึง 1 เดือน): 67 ถึง 84, 31 ถึง 45
  • ความดันโลหิต ทารก (1 ถึง 12 เดือน): 72 ถึง 104. 37 ถึง 56
สัญญาณอันตรายของเด็ก วัยแรกเกิด - 11 ปี

สัญญาณอันตรายของทารก วัยแรกเกิด อัตราการหายใจในเด็ก

สัญญาณอันตรายของเด็กวัยหัดเดิน

Advertisement

สำหรับเด็กวัยหัดเดินที่มีอายุประมาณ 1 ขวบ ไปจนถึง 2 ขวบ นั้น หากพ่อแม่อยากรู้ว่าลูกเรามีอาการปกติหรือไม่ สามารถดูได้จากสัญญาณชีพเหล่านี้

  • อัตราการเต้นของหัวใจ: 98 ถึง 140 ครั้งต่อนาที
  • อัตราการหายใจ: 22 ถึง 37 ครั้งต่อนาที
  • ความดันโลหิต: 86 to 106, 42 ถึง 63
  • อุณหภูมิ: 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 37 องศาเซสเซียส
ทารกแรกเกิดนอนกี่ชั่วโมง

อัตราการหายใจในเด็ก

สัญญาณอันตรายของเด็กก่อนวัยเรียน

เมื่อเด็กอายุ 3 ถึง 5 ปี สัญญาณชีพของเด็กก็จะเปลี่ยนไปตามวัย ถ้าพ่อแม่อยากรู้ว่าลูกเรามีอาการปกติหรือไม่ สามารถดูได้จากสัญญาณชีพเหล่านี้

  • อัตราการเต้นของหัวใจ: 80 ถึง 120 ครั้งต่อนาที
  • อัตราการหายใจ: 20 ถึง 28 ครั้งต่อนาที
  • ความดันโลหิต: 89 ถึง 112, 46 ถึง 72
  • อุณหภูมิ: 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 37 องศาเซสเซียส

สัญญาณอันตรายของเด็กวัยเรียน

สำหรับพ่อแม่ที่ลูกอยู่ในช่วง 6 – 11 ปี ให้คอยสังเกตสัญญาณชีพของลูก ดูว่าลูกของเรามีอาการปกติหรือไม่ ซึ่งสามารถบอกได้ดังนี้

  • อัตราการเต้นของหัวใจ: 75 ถึง 118 ครั้งต่อนาที
  • อัตราการหายใจ: 18 ถึง 25 ครั้งต่อนาที
  • ความดันโลหิต: 97 ถึง 120, 57 ถึง 80
  • อุณหภูมิ: 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 37 องศาเซสเซียส
สัญญาณอันตรายของเด็ก วัยแรกเกิด - 11 ปี

สัญญาณอันตรายของเด็ก วัยแรกเกิด – 11 ปี

วัดอุณหภูมิในเด็กควรวัดที่ไหนดี

เคยสงสัยกันไหมว่า เวลาวัดอุณหภูมิเขาวัดกันที่ตรงไหนกันแน่ แล้วตรงไหนให้ผลตรงมากที่สุด เราลองมาดูกัน โดยศูนย์การแพทย์ Sutter Health / California Pacific ได้ออกมาเปิดเผยถึงค่าอุณหภูมิในส่วนต่างๆ ของร่างกายเด็ก ดังนี้

  • รักแร้: มากกว่า 99 องศาฟาเรนไฮต์ (37.2 องศาเซลเซียส)
  • หู (แก้ว): มากกว่า 99.5 องศาฟาเรนไฮต์ และ 37.5 องศาเซลเซียส หากวัดช่องปาก (สำหรับเด็กที่อายุน้อยกว่า 6 เดือน แพทย์ไม่แนะนำให้ใช้การวัดอุณหภูมิในใบหูในเด็ก)
  • ช่องปาก: มากกว่า 99.5 องศาฟาเรนไฮต์ (37.5 องศาเซลเซียส)
  • ใช้จุก: มากกว่า 99.5 องศาฟาเรนไฮต์ (37.5 องศาเซลเซียส)
  • ทางทวารหนัก: มากกว่า 100.4 องศาฟาเรนไฮต์ (38 องศาเซลเซียส)

ถ้าเมื่อไหร่ที่ทารกตั้งแต่อายุ 3 เดือนขึ้นไป มีอุณหภูมิสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ใ้รีบพาลูกไปพบแพทย์โดยด่วน

ความดันเลือดสูงหรือต่ำในเด็กบอกอะไรได้บ้าง

หากเป็นผู้ใหญ่จะบอกได้ว่าที่ความดันสูงอาจมาจากการสะสมของคอเลสเตอรอลในร่างกาย แต่ในเด็กไม่ใช่แบบนั้น แต่อาจเป็นเพราะการทำงานที่บกพร้องของหัวใจหรือขนาดปอดของเด็กที่เล็กเกินไปนั่นเอง ซึ่งสาเหตุก็มาจาก

  • การเจริญผิดปกติของหลอดลมและเนื้อปอด
  • เป็นภาวะที่มีการตีบตันของเส้นเลือดใหญ่
  • ความผิดปกติของไต
  • เนื้องอก

เมื่อเด็กมีความดันสูง อาจทำให้เด็กมีน้ำหนักตัวเกณฑ์เกินได้ แต่ถ้าความดันต่ำจะทำให้ลูกน้อยของคุณกลายเป็นเด็กที่ป่วยง่าย และป่วยบ่อย

บทความจากพันธมิตร
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก

ที่มา: healthline

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

วิตามินเสริมสำหรับเด็ก อันตรายวิตามินเสริม อาหารเสริมเกินขนาด พ่อแม่ต้องคิดก่อนให้ลูกกินวิตามินเสริม

ก่อนลูกเข้าอนุบาลต้องรู้อะไรบ้าง ความรู้เบื้องต้นสำหรับเด็กอนุบาลที่พ่อแม่ต้องรู้

ตารางการนอนทารกแรกเกิด – 15 เดือน ทารกควรนอนนานเท่าไหร่ นอนกี่ครั้งต่อวัน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • เจ็บป่วย
  • /
  • สัญญาณอันตรายของเด็ก วัยแรกเกิด - 11 ปี ลูกมีอาการแบบนี้ ควรพบแพทย์ด่วน
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว