X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลบ พลังลบ เติม พลังบวก ให้คนใน ครอบครัว

บทความ 5 นาที
ลบ พลังลบ เติม พลังบวก ให้คนใน ครอบครัวลบ พลังลบ เติม พลังบวก ให้คนใน ครอบครัว

อารมณ์ เบื่อ เศร้า เหงา เซ็ง ใคร ๆ ก็เกิดขึ้นได้ทั้งนั้น แต่ถ้าเกิดกับคนในครอบครัวของเรานี่สิ คงไม่อยากให้เกิดขึ้นใช่มั้ยครับ แล้วเราจะช่วยจัดการกับอารมณ์ของสมาชิกในครอบครัวของเราและเติมพลังบวกได้ยังไงดี

พลังบวก พลังลบ ครอบครัว  ผมขอสมมติว่า พลังบวก คือความสุขใจ สบายใจ ในขณะที่ พลังลบ คือพลังด้านแย่ ๆ ที่ทำให้ใจเศร้า เบื่อ เหงา และ อะไรต่าง ๆ สารพัดแย่ละกัน วิธีการไม่ยากครับ แต่ทำได้ประสบความสำเร็จมากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับฝีมือของคุณ และ ประสบการณ์ด้วยล่ะ ไปดูกันเลยครับว่า เราจะ ลบ พลังลบ เติม พลังบวก ให้คนใน ครอบครัว กันได้ยังไง

 

เติมพลังบวกให้คนในครอบครัว, พลังลบ

เติมพลังบวกให้คนในครอบครัว

 

1. ก่อนอื่นคุณต้องทำตัวเอง ให้เป็นผู้มีพลังบวกก่อน เริ่มที่ มองโลกในแง่ดี  มีการบริหารจิตใจของตัวเองอยู่เสมอ ๆ  บริหารจิตใจทำได้โดย รู้จักควบคุมอารมณ์ มองสิ่งต่าง ๆ ตามเหตุผลที่ควรจะเป็น ไม่ใช้อคติ ความลำเอียง หรือความรู้สึกส่วนตัวมาประกอบ จะให้ดีคุณต้องทำสมาธิด้วยเพื่อชาร์ตพลังใจบริสุทธิ์ให้เต็มกว่าปกติซะก่อน พอคุณพร้อมแล้วคราวนี้มาดูข้อถัดไป

2. ลดพลังลบในตัวของอีกฝ่าย ให้เขาได้ระบายความรู้สึกที่อึดอัดภายในใจ ของเขาออกมา รับฟังปัญหาที่เขามอง ลองพิจารณามุมมองของเขาต่อปัญหานั้น อย่าเพิ่งโต้ตอบไปทันที อย่ากล่าวเสริม สนับสนุนความคิดของเขาไป ถ้าความคิดของเขาเป็นด้านลบ เพราะจะยิ่งเสริมพลังลบให้กับเขามากยิ่งขึ้น

3. ค่อย ๆ ถ่ายพลังบวกให้กับอีกฝ่าย พูดปลอบด้วยเหตุผล พยายามพูดแนวคิดด้านบวกให้กับเขา ช่วยคิดหาทางออกของปัญหา ด้วยสายตาของคนที่มองอย่างเป็นกลาง เพราะการให้คนที่อยู่ในกองไฟช่วยตัวเอง บางครั้งก็เกินความสามารถนะครับ แต่แน่ล่ะ เขาคงต้องมีแนวคิดด้านลบมาต่อต้านอยู่เรื่อย ๆ และส่งพลังด้านลบออกมาเผื่อคุณด้วย ซึ่งตรงนี้แหละ เป็นจุดที่ทำให้เราไม่สามารถช่วยเขาได้ จึงจำเป็นมากที่คุณต้องเตรียมตัวในข้อ 1 ให้พร้อมก่อน ไม่อย่างนั้นคุณจะร่วมติดพลังลบไปกับเขาด้วย

4. ถ้าปัญหานั้นเกินวิสัยที่จะแก้ไขกันจริง ๆ ลองเติมพลังงานบวก ด้วยกิจกรรมด้านบวกดูบ้าง ไปทำบุญ ปล่อยสัตว์ เลี้ยงอาหารผู้ด้อยโอกาส ทำกิจกรรมที่เป็นการเสียสละต่อสังคม หรือ อะไรก็ตามที่เป็นการเผื่อแผ่ให้กับผู้อื่น การทำแบบนี้ คุณจะได้พลังงานบวกโดยไม่รู้ตัวทีละนิด อาจจะไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่เหมือนลดพลังงานลบลงบ้าง ให้ได้พักจากความทุกข์ลงบ้าง พยายามชวนเขามองโลกในแง่ดี ดูคนที่ด้อยกว่า ว่าอย่างน้อยเราก็ยังมีทางมากกว่า

 

ฤกษ์ขึ้นบ้านใหม่ ฤกษ์ย้ายบ้าน ทำบุญบ้าน ขึ้นบ้านใหม่

ไอเดียกิจกรรมว่าด้วยการทำบุญ

5. ทำลายพลังลบ ข้อนี้จะยากสักหน่อย สำหรับคนไม่เคยฝึก แต่เป็นการเข้าไปตัดวงจรพลังลบโดยตรง ในทางพุทธศาสนามีวิธีการที่สูงสุดคือ “การปฏิบัติวิปัสสนา” อย่าเพิ่งตกใจครับ การทำวิปัสสนาก็แค่การรู้ทัน อารมณ์ ความคิด ความรู้สึก ของตัวเอง อย่าสับสนคิดถึงการนั่งหลับตานะครับ ขณะที่รู้ทันวงจรของความคิด หรือ ความทุกข์ที่กำลังเกิดขึ้นจะโดนขัดขวาง เกิดความโล่งด้วยสติรู้ตัวขึ้นมาแทน ความทุกข์ขาดหายไป แต่เกิดขึ้นได้เป็นขณะ ๆ เท่านั้น สักแป๊บความคิดด้านลบ ก็มาอีกก็ต้องทำใหม่อีก พอทำบ่อย ๆ เข้าความทุกข์ที่เกิดจะสั้นลง การรู้ตัวเกิดได้บ่อยขึ้น พอเข้ามากระทบก็ขาดหายได้ทันที

 

ประ โยชน์ของการนั่งสมาธิของเด็ก สอน ให้ลูกนั่งสมาธิ สอน ให้ ลูกน้อย นั่ง สมาธิ

ประ โยชน์ของการนั่งสมาธิของเด็ก สอน ให้ลูกนั่งสมาธิ สอน ให้ ลูกน้อย นั่ง สมาธิ

วิธีการนี้ เป็นการดับทุกข์ตามคำสอน ของพระพุทธเจ้า ทำได้จริง แต่ต้องตั้งใจ และ จะเห็นผลได้ทันที ซึ่งผู้ทำจะเห็นผลได้ด้วยตัวเอง อาจไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่เป็นการตั้งรับปัญหาด้วยสติ เมื่อไม่เอาตัวเองเข้าไปอยู่ในกองไฟ คราวนี้ก็ค่อยหาทางออก ตามเหตุตามผลที่สมควรต่อไป

สำหรับข้อ 5 นี้ เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง เมื่อเจอปัญหาต่าง ๆ เข้ามา ทำให้สามารถอยู่ได้ด้วยตัวเอง  ไม่จำเป็นต้องพึ่งพลังบวกจากที่ไหน คุณจะกลายเป็นเหมือนโรงงานผลิตพลังงานบวกด้วยตัวเอง พร้อมจะแบ่งปันความสุข ให้กับคนอื่นอย่างไม่จำกัด เพราะคุณเอง ใช้เท่าไรก็ไม่หมดอยู่แล้ว

รายละเอียด วิธีการวิปัสสนา ลองศึกษาได้จากหนังสือ หรือ เวปไซต์ ที่แนะนำการเจริญสติได้ทั่ว ๆ ไปครับ สมัยนี้เรื่องการเจริญสติหาศึกษาได้ไม่ยาก แต่ที่สำคัญคือ ต้องฝึกก่อนจะเจอปัญหาครับ ไม่เช่นนั้นรอให้ปัญหาเข้ามาแล้วกำลังใจจะมีไม่พอให้เห็นสติได้จริงครับ ลองชวนกันทำ และ เป็นกำลังใจให้แก่กันในยามที่อีกฝ่ายลบ อีกฝ่ายช่วยเติม ทำด้วยตัวเอง แล้วจะเห็นผลได้ด้วยตัวเองครับ

 

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพ และ สังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก theAsianparent Thailand เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

 

การ์ตูนธรรมมะสำหรับลูกและคุณเองด้วย

เด็กบางคนมีความสุขกว่าคนอื่นโดยธรรมชาติหรือไม่

https://today.line.me

บทความจากพันธมิตร
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ  ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
เผยเคล็ดลับการเรียนออนไลน์ที่จะทำให้ลูกตั้งใจเรียนมากขึ้น!
เผยเคล็ดลับการเรียนออนไลน์ที่จะทำให้ลูกตั้งใจเรียนมากขึ้น!

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

เสขะ

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • ลบ พลังลบ เติม พลังบวก ให้คนใน ครอบครัว
แชร์ :
  • ไขข้อข้องใจ “นมแม่” เกิดขึ้นได้อย่างไร?

    ไขข้อข้องใจ “นมแม่” เกิดขึ้นได้อย่างไร?

  • ปักหมุด! วิธีสอนลูกวัย 2-3 ปี จัดการกับอารมณ์อย่างเหมาะสม

    ปักหมุด! วิธีสอนลูกวัย 2-3 ปี จัดการกับอารมณ์อย่างเหมาะสม

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

app info
get app banner
  • ไขข้อข้องใจ “นมแม่” เกิดขึ้นได้อย่างไร?

    ไขข้อข้องใจ “นมแม่” เกิดขึ้นได้อย่างไร?

  • ปักหมุด! วิธีสอนลูกวัย 2-3 ปี จัดการกับอารมณ์อย่างเหมาะสม

    ปักหมุด! วิธีสอนลูกวัย 2-3 ปี จัดการกับอารมณ์อย่างเหมาะสม

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ