X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทำอย่างไรเมื่อน้ำนมไม่พอ

บทความ 3 นาที
ทำอย่างไรเมื่อน้ำนมไม่พอ

การเลี้ยงลูกไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะช่วงที่ต้องให้นมลูก สำหรับแม่หลายคนที่มีน้ำนมไม่พอให้ลูกกิน ก็ยิ่งกดดันตัวเองจนเครียดมากขึ้น ใจเย็น ๆ ค่ะ เพราะว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นกับหลายคนไม่ใช่คุณคนเดียวเท่านั้น เราลองมาดูกันว่ามีวิธีรับมือกับเรื่องนี้กันอย่างไรบ้าง

น้ำนมไม่พอ

น้ำนมไม่พอ

สังคมปัจจุบันนี้เป็นสังคมที่ชอบการเปรียบเทียบและมักชอบวิจารณ์การกระทำของคนอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างแม่ที่เลือกทำงานและแม่ที่เลือกอยู่บ้านเลี้ยงดูลูก หรือในกรณีที่แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และนมผงไปด้วยกัน จนทำให้แม่มีน้ำนมไม่พอ ไม่สามารถให้นมลูกได้ คุณแม่อาจจะรู้สึกแย่ว่าไม่สามารถทำหน้าที่แม่ที่สมบูรณ์แบบได้ แต่นั่นมันไม่ใช่เรื่องจริงเลย

ทำไมบางคนถึงมีน้ำนมไม่พอ

ปัจจัยที่ทำให้แม่มีน้ำนมไม่พอขึ้นอยู่กับ:

  • สภาพร่างกายของแม่สมบูรณ์มากน้อยแค่ไหน ร่างกายของคนที่เป็นโรคโลหิตจางหรือมะเร็งจะไม่สามารถผลิตน้ำนมได้ในปริมาณที่เหมาะสม
  • ภาวะโภชนาการต่ำ สำหรับแม่ที่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถผลิตน้ำนมที่เหมาะสมสำหรับลูกได้

โภชนาการสำหรับแม่ที่ให้นมบุตร อ่านที่นี่

  • ติดสิ่งเสพติด สำหรับแม่ที่ติดสารเสพติด หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ควรงดให้ลูกกิน
  • มีประวัติเป็นมะเร็งเต้านม สำหรับแม่ที่เคยเป็นมะเร็งเต้านม และได้รับการบำบัดด้วยการฉายแสงรังสี (chemotherapy ) จะไม่สามารถผลิตน้ำนมให้ลูกได้ เนื่องจากแพทย์ได้ผ่าตัดต่อมน้ำนมทิ้งไปแล้ว
  • หัวนมแตกและติดเชื้อ สำหรับแม่ที่หัวนมแตกและติดเชื้อควรงดให้นมลูก
Advertisement
  • เต้านมหรือต่อมน้ำนมอักเสบ ในกรณีที่เต้านมอักเสบหรือต่อมน้ำนมอักเสบควรงดให้นมลูกจนกว่าจะหายดี

เคล็ดลับสำหรับคุณแม่เพิ่งคลอด หน้าถัดไป>>>

เคล็ดลับน้ำนมมาเร็ว สำหรับแม่มือใหม่

ที่มา: มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย

แล้วควรทำอย่างไรเมื่อน้ำนมไม่พอ

อย่างแรกที่ควรทำคือ บอกตัวเองว่า “ฉันเป็นแม่ที่ดีได้แม้ว่าจะมีน้ำนมไม่พอให้ลูกกินก็ตาม” หรือบอกว่า “ลูกจะแข็งแรงดีแม้ว่าจะไม่ได้ดูดนมฉัน” คุณแม่ลูก 4 คนหนึ่งกล่าวว่า “เธอไม่สามารถผลิตนมให้ลูกกินได้เลย แต่ลูกทุกคนล้วนมีสุขภาพแข็งแรง ประสบความสำเร็จในชีวิต และมีชีวิตครอบครัวที่อบอุ่น”

จริง ๆ แล้วสิ่งที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของเด็กคือ การได้รับสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต ดังนั้นหากให้นมแม่ไม่ได้คุณสามารถเลือกนมผงที่วางขายทั่วไปมาใช้แทนนมแม่ แม้จะไม่ดีเท่านมแม่แต่ก็ขอให้คุณแม่อย่าไปเครียดกับมันมาก

สิ่งสุดท้ายที่อยากฝากคุณเอาไว้ คือ ความรัก การดูแลเอาใจใส่ที่คุณมีต่อลูกนั้น สำคัญกว่าการมานั่งเถียงกันว่าคุณให้ลูกกินนมอะไร คุณสามารถพิสูจน์ได้จากการเดินเข้าไปในโรงเรียนแล้วลองสังเกตดูว่า ลูกคนไหนดื่มนมแม่ คนไหนดื่มนมผง และลองสังเกตเด็กที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวเป็นอย่างดีและเด็กที่ไม่ได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัว คุณจะพบว่าคุณไม่มีทางรู้เลยว่าคนไหนดื่มนมอะไร แต่คุณจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเด็กคนไหนได้รับความรัก การเอาใจใส่จากครอบครัวอย่างเต็มที่

กู้น้ำนม มีวินัยช่วงไหนก็กู้ได้

วิธีเพิ่มน้ำนม

บทความจากพันธมิตร
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
แอลฟาแล็ค สฟิงโกไมอีลิน กุญแจสำคัญเลี้ยงลูกเจนใหม่ให้สมองไวกว่าที่แม่คิด
แอลฟาแล็ค สฟิงโกไมอีลิน กุญแจสำคัญเลี้ยงลูกเจนใหม่ให้สมองไวกว่าที่แม่คิด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ทำอย่างไรเมื่อน้ำนมไม่พอ
แชร์ :
  • 7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

    7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

  • กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

    กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

  • 7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

    7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

  • กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

    กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว