X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง แม่ผ่าคลอด มีลูกได้กี่คน อันตรายไหม และต้องดูแลตัวเองยังไง

บทความ 3 นาที
ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง แม่ผ่าคลอด มีลูกได้กี่คน อันตรายไหม และต้องดูแลตัวเองยังไง

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง มีลูกได้กี่คน ลูกคนที่ 2 ต้องห่างกันเท่าไหร่ คำถามที่แม่ผ่าคลอดหลายคนสงสัย ถ้าอยากมีลูกหลายคนจะมีความเสี่ยงอะไรบ้าง มาดูกันเลยค่ะ

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง แม่ผ่าคลอด มีลูกได้กี่คน

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง แม่ที่เคยผ่าคลอดมาแล้วคงสงสัยว่า แม่ผ่าคลอดมีลูกได้กี่คน แล้วต้องมีลูกห่างกันเท่าไหร่ถึงจะไม่อันตราย พร้อมทั้งวิธีดูแลตัวเองขอลคนท้องที่ถูกป้อง มาค่ะมาติดตามกัน

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง

แม่ผ่าคลอด ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง

พญ.ภัทรวลัย ตลึงจิตร อาจารย์ประจำภาควิชา สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้อธิบายว่า แม่ที่ผ่าคลอดถ้าอยากจะมีลูกอีกคน จพเป็นต้องเว้นระยะการมีลูกอย่างน้อย 1-2 ปี เพื่อให้แผลผ่าตัดที่มดลูกนั้นหายดีซะก่อน และถ้ารู้ว่าตัวเองตั้งครรภ์ก็ควรรีบไปฝากครรภ์กับคุณหมอทันที เพื่อที่คุณหมอจะได้ประเมินอายุครรภ์และความเสี่ยงในการตั้งท้องครั้งนี้ได้

สำหรับคุณแม่ที่เคยผ่าคลอดมาแล้ว และอยากมีลูก 2 คน 3 คน 4 คน ถามว่ามีได้ไหม คุณหมอได้บอกว่า ไม่ได้มีการระบุไว้ว่า ห้ามผ่าท้องเกินกี่ครั้ง แต่อยากให้คุณแม่รู้ว่า ยิ่งผ่าคลอดมากเท่าใด ก็จะยิ่งมีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งอาการแทรกซ้อนที่อาจทำให้เกิดอันตราย เช่น การเกิดพังผืด อาการบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ เช่น กระเพาะปัสสาวะทะลุ ขณะทำการผ่าตัดคลอดจากมีพังผืดได้ แพทย์จึงไม่ค่อยแนะนำให้ผ่าตัดคลอดเกิน 3 ครั้ง

ทั้งนี้ ในแต่ละคนมีความเสี่ยงไม่เท่ากันและไม่สามารถกำหนดได้ตายตัวว่าจะผ่าคลอดได้กี่ครั้ง แต่เมื่อมีการผ่าคลอดครั้งแรก หมายถึงจุดเริ่มต้นที่จะมีโอกาสได้รับอันตรายจากการผ่าคลอดครั้งต่อๆไป เพราะหากเคยผ่าคลอดแล้วส่วนใหญ่ก็ต้องผ่าคลอดอีก และคุณหมอก็จะผ่าที่บริเวณมดลูก ซึ่งจะทำให้มดลูกของคุณแม่ไม่แข็งแรง แน่นอนว่ามีผลกับการท้องในครั้งต่อไปของแม่่ๆ เพราะจะทำให้เกิดความเสี่ยงจากการตั้งครรภ์มากขึ้นไปอีก เช่น มดลูกแตก อาการเจ็บท้องคลอดที่มีมากกว่าเดิม ดังนั้น ถ้าคุณแม่คนไหนที่เคยผ่าคลอดมาก่อน และต้องการผ่าลูกคนที่ 2 เช่นเดียวกัน คุณหมอแนะนำว่าให้ผ่าตัดในครั้งที่ 2 ก่อนที่จะเจ็บท้องคลอด

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง

แต่ก็มีบางกรณีที่คุณหมอ ให้คุณแม่คลอดเองตามธรรมชาติ ซึ่งขึ้นอยู่กับทางดุลยพินิจของคุณแม่ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยงเรื่องมดลูกแตก แต่ถ้าคุณแม่มีแรงเบ่งดี ลูกในท้องตัวไม่ใหญ่มาก คุณหมอก็อาจให้คลอดธรรมชาติได้ค่ะ

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง

อันตรายจากการผ่าคลอด

  1. อันตรายจากยาสลบ: โดยปกแล้วการผ่าตัดคลอดลูก คุณหมอจพเป็นต้องวางยาระงับความรู้สึกหรือยาสลบให้กับแม่ ซึ่งบางครั้งอาจมีภาวะแทรกซ้อนจนเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ทำให้แม่เกิดความเสี่ยงในเรืองของความดันโลหิตลดต่ำลงทันทีจากการบล็อกหลัง การสำลักน้ำหรืออาหารเข้าไปในหลอดลมจากการดมยาสลบ นอกจากปัญหาที่แม่แล้ว ลูกที่คลอดออกมาจากแม่ที่ได้รับยาสลบอาจเกิดการขาดออกซิเจนและตัวเขียวได้
  2. ความเสี่ยงจากการเสียเลืvดจำนวนมาก: การผ่าคลอดคุณหมอจะใช้มีดกรีดทั้งที่หน้าท้องและมดลูกของคุณแม่ ทำให้เกิดเป็นแผลขนาดใหญ่ และแม่ๆ รู้ไหมว่าทุกครั้งที่มีการกรีดมีดลงไป เลือดจะไหลซึมออกมาจำนวนมาก ซึ่งแต่ต่างจากการคลอดธรรมชาติ ที่แม่ๆ จะมีแค่แผลเย็บที่ช่องคลอดเพียงเล็กน้อยและเสียเลือดน้อยกว่ากันมาก ยิ่งถ้าคุณแม่ที่มีปัญหาเลือดจางอยู่แล้ว ถ้าต้องรับการผ่าคลอดอาจเกิดอันตรายได้ง่ายกว่าเดิมอีก ดังนั้น ในระหว่างตั้งครรภ์ตุณแม่ต้องดูแลตัวเองให้ดี
  3. โอกาสติดเชื้อที่ร้ายแรง: การผ่าตัดคลอดนั้นมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายกว่าการคลอดทางช่องคลอดเสียอีก และมักเป็นการติดเชื้อที่รุนแรงในช่องท้อง บางรายอาจเสียชีวิตได้
  4. เสี่ยงผ่าโดนอวัยวะอื่น: การผ่าตัดคลอดมีโอกาสลงมีดไปโดนอวัยวะอื่น เช่น ลำไส้หรือ กระเพาะปัสสาวะได้ โดยเฉพาะในรายที่เป็นการผ่าตัดคลอดท้องหลังซึ่งการผ่าตัดครั้งแรกมีพังผืดในช่องท้องค่อนข้างมาก บางรายเกิดภาวะรกเกาะต่ำและเกาะแน่น หรือเกิดการปริแตกที่บริเวณแผลผ่าคลอดเดิมก่อนถึงกำหนดผ่าคลอดทำให้มีเลือดออกในช่องท้องรุนแรงถึงขั้นเสี่ยงเสียชีวิตได้
  5. เจ็บแผลนาน: การผ่าตัดคลอดจะทำให้คุณแม่เจ็บแผลหลังคลอดมากและนานกว่าการคลอดทางช่องคลอด บางคนผ่ามา 3-5 วันแล้วยังเดินไม่ค่อยไหว ให้ลูกกินนมแม่ยังไม่ได้เพราะปวดแผลก็มี แต่ถ้าคลอดทางช่องคลอดหลังคลอดวันเดียวก็เดินได้แล้ว
ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง

ผ่าคลอดลูกคนที่สอง

ผ่าคลอดลูกคนที่ 2 แม่ท้องต้องดูแลตัวเองอย่างไร

ถ้าแม่ผ่าคลอดต้องการมีลูกมากกว่า 2 คนขึ้นไป หมอจะตรวจร่างกายอย่างละเอียด ทั้งตรวจภายใน ตรวจมดลูก และดูข้อจำกัดของคุณแม่ที่เคยผ่าคลอดมาแล้ว เช่น

  • จำนวนแผลที่เคยผ่าคลอด และความหนาบางของแผล
  • อายุของคุณแม่มากเกินไปหรือไม่
  • พังผืดในช่องท้องที่มากเกินไปหรือไม่
  • โรคประจำตัวของคุณแม่มีหรือไม่ อาจอาจจะเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงขณะที่ตั้งครรภ์ได้

อาหารแม่หลังผ่าคลอด สารอาหารแบบไหนที่แม่หลังผ่าคลอดควรได้รับ?

อาหาร แม่ หลังผ่าคลอด สารอาหารแบบไหนที่แม่หลังผ่าคลอดควรได้รับ?

สิ่งที่คุณแม่หลังผ่าคลอดควรให้ความสำคัญ คือเรื่องของอาหาร เนื่องจากล้วนเกี่ยวกับแผลทั้งหมด บางสารอาหารอาจจะเข้าไปกระทบกับแผล หรือ เรื่องของการผ่าคลอด บางอาหารอาจจะช่วยสมานแผลหรือทำให้ร่างกายของแม่ผ่าคลอดดีขึ้นได้อีกด้วย วันนี้เรามาดู อาหารแม่หลังผ่าคลอด สารอาหารแบบไหนที่แม่หลังผ่าคลอดควรได้รับ? อ่านต่อได้ที่นี่ >คลิก

ที่มา: komchadluek, thairath


The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”


บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

เมื่อไรที่แผลผ่าคลอดจะหายสนิท ผ่าคลอดเจ็บกี่วัน ดูแลแผลอย่างไรให้ถูกวิธี

ประสบการณ์คลอดลูกคนแรก คลอดธรรมชาติ ฟื้นตัวไว น้ำหนักลดเร็ว แม่ขอบอก!

มีลูกห่างกันกี่ปีถึงจะดี ลูกคนต่อไปควรเว้นระยะเท่าไหร่

อาหารแม่หลังผ่าคลอด สารอาหารแบบไหนที่แม่หลังผ่าคลอดควรได้รับ?

สิ่งที่ห้ามทำเด็ดขาดหลังจากผ่าคลอด มา ทำแล้วไม่หาย เจ็บนาน

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง แม่ผ่าคลอด มีลูกได้กี่คน อันตรายไหม และต้องดูแลตัวเองยังไง
แชร์ :
  • คุณแม่ผ่าคลอด ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ถ้าเคยผ่าคลอดแล้วจะคลอดธรรมชาติได้หรือไม่

    คุณแม่ผ่าคลอด ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ถ้าเคยผ่าคลอดแล้วจะคลอดธรรมชาติได้หรือไม่

  • 5 ข้อชวนคิดก่อนตัดสินใจมีลูกคนที่สอง

    5 ข้อชวนคิดก่อนตัดสินใจมีลูกคนที่สอง

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • คุณแม่ผ่าคลอด ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ถ้าเคยผ่าคลอดแล้วจะคลอดธรรมชาติได้หรือไม่

    คุณแม่ผ่าคลอด ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง ถ้าเคยผ่าคลอดแล้วจะคลอดธรรมชาติได้หรือไม่

  • 5 ข้อชวนคิดก่อนตัดสินใจมีลูกคนที่สอง

    5 ข้อชวนคิดก่อนตัดสินใจมีลูกคนที่สอง

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ