X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

นั่งคาร์ซีทอย่างไร ให้ปลอดภัย และวิธีรับมือ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท

บทความ 5 นาที
นั่งคาร์ซีทอย่างไร ให้ปลอดภัย และวิธีรับมือ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท

คุณพ่อคุณแม่มือใหม่ อาจจะยังไม่มีประสบการณ์ เลยไม่รู้ว่า ควรให้ลูกน้อย นั่งคาร์ซีทอย่างไร ถึงจะปลอดภัย และควรเอาฝึกลูก นั่งคาร์ซีทอย่างไร เพื่อไม่ให้ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท ลูกยอมนั่งคาร์ซีทแต่โดยดี

 

ทำไมต้องเอาลูกนั่งคาร์ซีท ?

คาร์ซีทเป็นที่นั่งที่มีเข็มขัดนิรภัยสำหรับเด็กโดยเฉพาะ เนื่องจากรถยนต์จะไม่เหมาะกับรูปร่างของเด็ก จึงอาจจะเกิดอันตรายในการใช้งาน และเข็มขัดนิรภัยของรถยนต์ ไม่สามารถป้องกันหรือลดโอกาส หรือ ความรุนแรงจากการบาดเจ็บเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์กับเด็กได้

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่

 

ลูกอายุเท่าไหร่ถึงนั่งคาร์ซีท

นั่งคาร์ซีท

Advertisement

คุณพ่อคุณแม่สามารถให้ลูกนั่งคาร์ซีทได้ทันทีที่ต้องเดินทางโดยรถยนต์ คุณพ่อคุณแม่สามารถพาลูกนั่งคาร์ซีทได้ ตั้งแต่วันแรกที่เดินทางออกจากโรงพยาบาล เพื่อฝึกความเคยชินตั้งแต่เด็ก ๆ และสามารถใช้ต่อเนื่องได้ไปจนถึงอายุ 12 ปี

 

วิธีเลือกใช้คาร์ซีท

คาร์ซีทมีหลากหลายรูปแบบ คุณพ่อคุณแม่สามารถเลือกใช้โดยความเหมาะสมของช่วงวัย โดยวัดจากน้ำหนักส่วนสูงของเด็ก ในช่วงเด็กแรกเกิดน้ำหนักจะไม่ถึง 9 กก. ให้นั่งคาร์ซีทที่หันหน้าเข้าหาพนักพิงเบาะหลัง และเปลี่ยนไปใช้แบบหันไปทางหน้ารถได้ตอนอายุประมาณ 3-2 ปี น้ำหนักโดยประมาณ 9-36 กก.

 

วิธีการนั่งคาร์ซีท

  • วัยแรกเกิด – 12 เดือน

ควรติดตั้งคาร์ซีทไว้ที่เบาะหลัง หันคาร์ซีทเข้าหาเบาะหลัง ยึดคาร์ซีทเข้ากับตัวล็อคเข็มขัดนิรภัย และผูกสายเข้ากับเบาะหน้า (ส่วนที่หลังคาร์ซีทชนกับด้านหลังของเบาะหน้าพอดี)

  • วัย 1-3 ปี

ควรติดตั้งคาร์ซีทไว้เบาะหลัง หันคาร์ซีทออกด้านหน้าวิวเดียวกับคุณพ่อคุณแม่

  • วัย 4-7 ปี

ควรติดตั้งคาร์ซีทไว้เบาะหลัง หันคาร์ซีทออกด้านหน้าวิวเดียวกลับคุณพ่อคุณแม่ หรืออาจเปลี่ยนจากคาร์ซีทเป็น Booster Seat ที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็กที่ยังคงมีความปลอดภัยในการล็อกที่นั่งและตัวลูกกับที่นั่ง

ข้อควรระวังในการใช้ Booster Seat

    • ใช้คู่มือ เข็มขัดนิรภัย Booster เพื่อให้แน่ใจว่า ส่วนเอวของเข็มขัดนิรภัย ติดตั้งบนไหล่ของเด็ก
    • หากมีสายรัดด้านบน ให้ตรวจสอบ ให้แน่ใจว่า ได้ติดตั้ง อย่างถูกต้องกับที่วางพนักพิงสำหรับเด็ก
    • ตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าได้ปรับเข็มขัดนิรภัยแล้ว
    • ส่วนที่หุ้ม ของเข็มขัดนิรภัย ควรผ่านต้นขาส่วนบน และทั่วสะโพก ไม่ใช่บริเวณท้อง
  • วัย 7-8 ปี

วัยนี้ลูกสามาถนั่งที่ปกติได้แล้ว แต่ต้องคาดเข็มขัดนิรภัยเสมอ

 

 

ความปลอดภัยในการใช้คาร์ซีท

  • เด็กต่ำกว่า 6 เดือน : จะต้องใช้เข็มขัดนิรภัย สำหรับเด็กที่หันไปด้านหลังที่ผ่านการได้รับอนุญาต
  • 6 เดือนขึ้นไป : เด็กจะต้องหันหน้าไปทางด้านหลัง ทุกครั้งที่เดินทางคุณพ่อคุณแม่ควรใช้หมอนรองศีรษะ และตรวจสอบว่า สายรัดถูกปรับ เพื่อให้พอดีกับเด็กหรือยัง และสายต้องไม่บิดงอ และใช้เบาะนั่งสำหรับเด็ก
  • เด็กวัยหัดเดิน : ใช้เข็มขัดนิรภัยสำหรับเด็ก แบบหันหน้า ไปทางด้านหลัง หรือเข็มขัดนิรภัย แบบหันหน้าไปข้างหน้า ซึ่งยึดไว้กับเข็มขัดนิรภัยสำหรับผู้ใหญ่ และสายคาดด้านบน เป็นวิธีที่ปลอดภัยที่สุด คุณพ่อคุณแม่ควรตรวจสอบสายรัด เข็มขัดนิรภัยแน่น และกระชับพอดี ไม่บิดงอ
  • เด็กโต อายุประมาณ 4-7 ปี : ควรใช้เบาะนั่งข้างหน้า หรือที่นั่งเสริม ที่เหมาะสำหรับเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และไม่แนะนำให้ใช้หมอนอิง บูสเตอร์ เนื่องจากไม่มีการป้องกัน กรณีที่เกิดแรงกระแทก จากด้านข้าง

ฝึกให้ลูกนั่งคาร์ซีท

นั่งคาร์ซีทอย่างไร

นั่งคาร์ซีทอย่างไร

  • ฝึกเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ แนะนำให้ฝึกตั้งแต่วันแรกที่ออกจากโรงพยาบาล จะช่วยสร้างความคุ้นเคยให้แก่ลูก
  • ทำบ่อย ๆ ไม่ว่าจะระยะทางใกล้หรือไกล ก็ควรให้ลูกนั่งคาร์ซีท เพราะอุบัติเหตุเกิดได้เสมอ
  • ปรับทัศนคติให้ตรงกัน อาจจะพูดคุยถึงเหตุผลว่าทำไมถึงต้องนั่งคาร์ซีท หรืออาจจะลองหาเหตุการณ์ใน Youtube ว่าลูกที่นั่งคาร์ซีท กับ ไม่ได้นั่งคาร์ซีทแล้วเกิดอุบัติเหตุจะเป็นอย่างไร
  • เช็คสภาพแวดล้อม หากลูกรู้สึกไม่สบายตัวก็หาสาเหตุ ว่าเพราะอะไร อาจจะรถร้อนเกิดไป ตรงที่นั่งโดนแดดส่องมากเกินไป
  • บรรยากาศในรถ สลับไปนั่งด้านหลังเป็นเพื่อนลูก ชวนลูกคุย หรือเปิดเพลงฟัง จะช่วยให้บรรยากาศผ่อนคลาย
  • นำของเล่นติดขึ้นรถ เพื่อจะได้ให้ลูกรู้สึกสนุก ฆ่าเวลาในการนั่งรถ ลูกก็จะมีส่วนร่วมในการเดินทาง รู้สึกผ่อนคลาย และมีความสุขเวลานั่งรถ
  • ขนมทานเล่น คุณแม่อาจจะเตรียมขนมที่ลูกชอบ หากลูกเบื่อ ๆ ก็เอาขนมออกมาทานเล่นได้

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่

หากลูกไม่ยอมนั่งคาร์ซีท ทำอย่างไร ?

  • หากลูกงอแง และพยายามดีดตัวจากคาร์ซีท คุณแม่อาจจะใช้ของเล่น หรือ หากิจกรรมที่เบี่ยงเบนความสนใจให้ลูกเล่น ขณะนั่งคาร์ซีท และการเดินทางในบางครั้ง คุณแม่อาจจะต้องไปนั่งข้างหลังกับลูกบ้าง เพื่อจะได้ให้ลูกรู้สึกว่ามีเพื่อน
  • การที่ลูกนั่งตัก ไม่นั่งคาร์ซีท จะเสี่ยงทำให้เสียชีวิตได้ทั้งคุณแม่และลูก เพราะแรงชนอาจจะทำให้แม่และลูกพุ่งชนเบาะหน้า หรือพุ่งออกจากรถได้
  • คาร์ซีทบางยี่ห้อ จะมีระบบป้องกันลูกสอดแขน แล้วลุกดีดตัวออกจากคาร์ซีท ซึ่งจะเป็นตัวช่วยไม่ให้ลูกสอดแขนแล้วดีดตัวออกได้
  • ใจแข็งและเด็ดขาด คำนึงถึงความปลอดภัยของลูกน้อยไว้ค่ะ

บทความที่เกี่ยวข้อง : ทารกเดินทางไกล นั่งคาร์ซีท พาลูกนั่งรถไกล ๆ ทารกต้องนั่งคาร์ซีทเพื่อความปลอดภัยในการเดินทาง

ที่มา : babygiftretail,guidemama

บทความจากพันธมิตร
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

nantichaphothatanapongbow

  • หน้าแรก
  • /
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • /
  • นั่งคาร์ซีทอย่างไร ให้ปลอดภัย และวิธีรับมือ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท
แชร์ :
  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง?  ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

    ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง? ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

  • EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

    EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง?  ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

    ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง? ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

  • EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

    EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว