X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

นั่งคาร์ซีทอย่างไร ให้ปลอดภัย และวิธีรับมือ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท

บทความ 5 นาที
นั่งคาร์ซีทอย่างไร ให้ปลอดภัย และวิธีรับมือ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท

คุณพ่อคุณแม่มือใหม่ อาจจะยังไม่มีประสบการณ์ เลยไม่รู้ว่า ควรให้ลูกน้อย นั่งคาร์ซีทอย่างไร ถึงจะปลอดภัย และควรเอาฝึกลูก นั่งคาร์ซีทอย่างไร เพื่อไม่ให้ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท ลูกยอมนั่งคาร์ซีทแต่โดยดี

 

ทำไมต้องเอาลูกนั่งคาร์ซีท ?

คาร์ซีทเป็นที่นั่งที่มีเข็มขัดนิรภัยสำหรับเด็กโดยเฉพาะ เนื่องจากรถยนต์จะไม่เหมาะกับรูปร่างของเด็ก จึงอาจจะเกิดอันตรายในการใช้งาน และเข็มขัดนิรภัยของรถยนต์ ไม่สามารถป้องกันหรือลดโอกาส หรือ ความรุนแรงจากการบาดเจ็บเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์กับเด็กได้

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่

 

ลูกอายุเท่าไหร่ถึงนั่งคาร์ซีท

นั่งคาร์ซีท

Advertisement

คุณพ่อคุณแม่สามารถให้ลูกนั่งคาร์ซีทได้ทันทีที่ต้องเดินทางโดยรถยนต์ คุณพ่อคุณแม่สามารถพาลูกนั่งคาร์ซีทได้ ตั้งแต่วันแรกที่เดินทางออกจากโรงพยาบาล เพื่อฝึกความเคยชินตั้งแต่เด็ก ๆ และสามารถใช้ต่อเนื่องได้ไปจนถึงอายุ 12 ปี

 

วิธีเลือกใช้คาร์ซีท

คาร์ซีทมีหลากหลายรูปแบบ คุณพ่อคุณแม่สามารถเลือกใช้โดยความเหมาะสมของช่วงวัย โดยวัดจากน้ำหนักส่วนสูงของเด็ก ในช่วงเด็กแรกเกิดน้ำหนักจะไม่ถึง 9 กก. ให้นั่งคาร์ซีทที่หันหน้าเข้าหาพนักพิงเบาะหลัง และเปลี่ยนไปใช้แบบหันไปทางหน้ารถได้ตอนอายุประมาณ 3-2 ปี น้ำหนักโดยประมาณ 9-36 กก.

 

วิธีการนั่งคาร์ซีท

  • วัยแรกเกิด – 12 เดือน

ควรติดตั้งคาร์ซีทไว้ที่เบาะหลัง หันคาร์ซีทเข้าหาเบาะหลัง ยึดคาร์ซีทเข้ากับตัวล็อคเข็มขัดนิรภัย และผูกสายเข้ากับเบาะหน้า (ส่วนที่หลังคาร์ซีทชนกับด้านหลังของเบาะหน้าพอดี)

  • วัย 1-3 ปี

ควรติดตั้งคาร์ซีทไว้เบาะหลัง หันคาร์ซีทออกด้านหน้าวิวเดียวกับคุณพ่อคุณแม่

  • วัย 4-7 ปี

ควรติดตั้งคาร์ซีทไว้เบาะหลัง หันคาร์ซีทออกด้านหน้าวิวเดียวกลับคุณพ่อคุณแม่ หรืออาจเปลี่ยนจากคาร์ซีทเป็น Booster Seat ที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็กที่ยังคงมีความปลอดภัยในการล็อกที่นั่งและตัวลูกกับที่นั่ง

ข้อควรระวังในการใช้ Booster Seat

    • ใช้คู่มือ เข็มขัดนิรภัย Booster เพื่อให้แน่ใจว่า ส่วนเอวของเข็มขัดนิรภัย ติดตั้งบนไหล่ของเด็ก
    • หากมีสายรัดด้านบน ให้ตรวจสอบ ให้แน่ใจว่า ได้ติดตั้ง อย่างถูกต้องกับที่วางพนักพิงสำหรับเด็ก
    • ตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าได้ปรับเข็มขัดนิรภัยแล้ว
    • ส่วนที่หุ้ม ของเข็มขัดนิรภัย ควรผ่านต้นขาส่วนบน และทั่วสะโพก ไม่ใช่บริเวณท้อง
  • วัย 7-8 ปี

วัยนี้ลูกสามาถนั่งที่ปกติได้แล้ว แต่ต้องคาดเข็มขัดนิรภัยเสมอ

 

 

ความปลอดภัยในการใช้คาร์ซีท

  • เด็กต่ำกว่า 6 เดือน : จะต้องใช้เข็มขัดนิรภัย สำหรับเด็กที่หันไปด้านหลังที่ผ่านการได้รับอนุญาต
  • 6 เดือนขึ้นไป : เด็กจะต้องหันหน้าไปทางด้านหลัง ทุกครั้งที่เดินทางคุณพ่อคุณแม่ควรใช้หมอนรองศีรษะ และตรวจสอบว่า สายรัดถูกปรับ เพื่อให้พอดีกับเด็กหรือยัง และสายต้องไม่บิดงอ และใช้เบาะนั่งสำหรับเด็ก
  • เด็กวัยหัดเดิน : ใช้เข็มขัดนิรภัยสำหรับเด็ก แบบหันหน้า ไปทางด้านหลัง หรือเข็มขัดนิรภัย แบบหันหน้าไปข้างหน้า ซึ่งยึดไว้กับเข็มขัดนิรภัยสำหรับผู้ใหญ่ และสายคาดด้านบน เป็นวิธีที่ปลอดภัยที่สุด คุณพ่อคุณแม่ควรตรวจสอบสายรัด เข็มขัดนิรภัยแน่น และกระชับพอดี ไม่บิดงอ
  • เด็กโต อายุประมาณ 4-7 ปี : ควรใช้เบาะนั่งข้างหน้า หรือที่นั่งเสริม ที่เหมาะสำหรับเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และไม่แนะนำให้ใช้หมอนอิง บูสเตอร์ เนื่องจากไม่มีการป้องกัน กรณีที่เกิดแรงกระแทก จากด้านข้าง

ฝึกให้ลูกนั่งคาร์ซีท

นั่งคาร์ซีทอย่างไร

นั่งคาร์ซีทอย่างไร

  • ฝึกเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ แนะนำให้ฝึกตั้งแต่วันแรกที่ออกจากโรงพยาบาล จะช่วยสร้างความคุ้นเคยให้แก่ลูก
  • ทำบ่อย ๆ ไม่ว่าจะระยะทางใกล้หรือไกล ก็ควรให้ลูกนั่งคาร์ซีท เพราะอุบัติเหตุเกิดได้เสมอ
  • ปรับทัศนคติให้ตรงกัน อาจจะพูดคุยถึงเหตุผลว่าทำไมถึงต้องนั่งคาร์ซีท หรืออาจจะลองหาเหตุการณ์ใน Youtube ว่าลูกที่นั่งคาร์ซีท กับ ไม่ได้นั่งคาร์ซีทแล้วเกิดอุบัติเหตุจะเป็นอย่างไร
  • เช็คสภาพแวดล้อม หากลูกรู้สึกไม่สบายตัวก็หาสาเหตุ ว่าเพราะอะไร อาจจะรถร้อนเกิดไป ตรงที่นั่งโดนแดดส่องมากเกินไป
  • บรรยากาศในรถ สลับไปนั่งด้านหลังเป็นเพื่อนลูก ชวนลูกคุย หรือเปิดเพลงฟัง จะช่วยให้บรรยากาศผ่อนคลาย
  • นำของเล่นติดขึ้นรถ เพื่อจะได้ให้ลูกรู้สึกสนุก ฆ่าเวลาในการนั่งรถ ลูกก็จะมีส่วนร่วมในการเดินทาง รู้สึกผ่อนคลาย และมีความสุขเวลานั่งรถ
  • ขนมทานเล่น คุณแม่อาจจะเตรียมขนมที่ลูกชอบ หากลูกเบื่อ ๆ ก็เอาขนมออกมาทานเล่นได้

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่

หากลูกไม่ยอมนั่งคาร์ซีท ทำอย่างไร ?

  • หากลูกงอแง และพยายามดีดตัวจากคาร์ซีท คุณแม่อาจจะใช้ของเล่น หรือ หากิจกรรมที่เบี่ยงเบนความสนใจให้ลูกเล่น ขณะนั่งคาร์ซีท และการเดินทางในบางครั้ง คุณแม่อาจจะต้องไปนั่งข้างหลังกับลูกบ้าง เพื่อจะได้ให้ลูกรู้สึกว่ามีเพื่อน
  • การที่ลูกนั่งตัก ไม่นั่งคาร์ซีท จะเสี่ยงทำให้เสียชีวิตได้ทั้งคุณแม่และลูก เพราะแรงชนอาจจะทำให้แม่และลูกพุ่งชนเบาะหน้า หรือพุ่งออกจากรถได้
  • คาร์ซีทบางยี่ห้อ จะมีระบบป้องกันลูกสอดแขน แล้วลุกดีดตัวออกจากคาร์ซีท ซึ่งจะเป็นตัวช่วยไม่ให้ลูกสอดแขนแล้วดีดตัวออกได้
  • ใจแข็งและเด็ดขาด คำนึงถึงความปลอดภัยของลูกน้อยไว้ค่ะ

บทความที่เกี่ยวข้อง : ทารกเดินทางไกล นั่งคาร์ซีท พาลูกนั่งรถไกล ๆ ทารกต้องนั่งคาร์ซีทเพื่อความปลอดภัยในการเดินทาง

ที่มา : babygiftretail,guidemama

บทความจากพันธมิตร
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

nantichaphothatanapongbow

  • หน้าแรก
  • /
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • /
  • นั่งคาร์ซีทอย่างไร ให้ปลอดภัย และวิธีรับมือ ลูกงอแงเวลานั่งคาร์ซีท
แชร์ :
  • อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
    บทความจากพันธมิตร

    อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
    บทความจากพันธมิตร

    อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว