X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่

บทความ 5 นาที
วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่

การที่มีคาร์ซีทจะช่วยปกป้องคุณลูกจากเหตุร้ายต่างๆได้ เราจะพามาดู วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เพื่อป้องกัน และจะได้ใช้คาร์ซีทให้ออกมาอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่

ลูกเล็กเวลาที่จะเดินทางโดยรถยนต์นั้นผู้ปกครองควรจะให้ลูกในคาร์ซีทด้วยเนื่องจากว่า อุบัติเหตุบนรถนั้นเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาโดยที่เราไม่สามารถคาดการได้เลยแม้แต่น้อย การที่มีคาร์ซีทจะช่วยปกป้องคุณลูกจากเหตุร้ายต่างๆได้ในอีกระดับนึง วันนี้เราจะพามาดู วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เพื่อป้องกัน และจะได้ใช้คาร์ซีทให้ออกมาอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง

คาร์ซีทหลวมเกินไปไม่เข้าที่กับตัวรถ

วิธีทดสอบก็คือให้จับฐานแล้วลองขยับดู ตัวคาร์ซีทไม่ควรขยับซ้ายขวาหน้าหลัง ได้เกินหนึ่งนิ้ว ถ้าคุณสามารถขยับได้มากเกินกว่านั้นแสดงว่ามันหลวมไป ความน่ากลัวเมื่อซีทหลวมก็คือ เมื่อเกิดอุบัติเหตุซีทอาจจะหลุดทำให้ตัวเล็กไปโดนเบาะข้างหน้า ทำให้หัวเจ็บถึงขั้นมีอาการร้ายแรงได้ ปัญหานี้สามารถแก้ไขได้โดยการอ่านคู่มือที่มาพร้อมกับรถ หรือ คาร์ซีท โดยปกติแล้วการติดตั้งคาร์ซีทเช้ากับรถนั้น จำเป็นจะต้องมีตัวสลักหรือ ตัวล๊อกที่ทำให้คาร์ซีทเข้าที่ได้อย่างถูกต้อง

เข็มขัดรัดหลวมเกินไป

ถ้าเข็มขัดของลูกหลวมเกินไป ในเวลาที่มีอุบัติเหตุลูกอาจจะหลุดออกจากที่นั่งได้ ซึ่งอาจนำมาซึ่งอันตรายมากมาย ทั้งการกระแทกกับสิ่งของภายในรถ หรือ ถ้าเกิดอุบัติเหตุที่รุนแรงจริงๆ ลูกออกจะหลุดออกจากรถเลยก็ได้ ผู้ปกครองควรเช็คเข็มขัดที่รัดลูกให้เรียบร้อยทุกครั้งก่อนจะออกเดินทางเพื่อให้มั่นใจว่ามีความปลอดภัยจริงๆ

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง

ทารกเดินทางไกล นั่งคาร์ซีท พาลูกนั่งรถไกล ๆ ทารกต้องนั่งคาร์ซีท ทารก เดินทางไกล, ทารกเดินทางไกล นั่งคาร์ซีท, พาลูกเดินทางไกล, คาร์ซีท Car Seat, ทารกนั่งรถ

เด็กทารกหันหน้าเร็วเกินไป

เมื่อเด็กยังเล็กอยู่ พ่อ แม่ ควรให้ลูกนั่งบนคาร์ซีทแบบหันหลัง เด็กไม่ควรหันหน้าจนกว่าจะเหมาะสมกับอายุและส่วนสูง เหตุผลที่ควรให้เด็กทารกหันหลังก็เพราะว่าไขสันหลังของเด็กยังไม่เจริญเติบโตอย่างเต็มที่ การหันหลังจะทำให้ ร่างกายของ เจ้าหนูน้อย สามารถดูดซับแรงกระแทกได้ดีกว่า เช่นเดียวกับปัญหาอื่นๆที่ได้พูดถึงไปก่อนหน้านี้ แรงกระแทกของรถอาจจะทำให้หนูน้อยกระเด็นออกจากที่นั่งได้

ให้ลูกหันหลังแล้วแต่องศาผิด

คุณควรจัดวางคาร์ซีทให้ถูกองศาเพื่อที่เด็กจะได้ไม่เขวไปด้านหน้ามากจนเกินไป อ่านคู่มือเพื่อหาว่าองศาที่ถูกต้องในการติดตั้งคาร์ซีทคืออะไร และปรับตามสภาพ คาร์ซีทที่ได้รับมาตราฐานทุกอันจะมี ตัวบ่งบอกองศาอยู่ อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากกรณีนี้เกี่ยวข้องกับทางเดินหายใจของเด็กที่มีขนาดเล็กมาก ถ้าคาร์ซีทอยู่ผิดองศาแล้วลูกเคลื่อนตัวไปข้างหน้ามากเกินไปเขาหรือเธออาจถูกกดทับทางเดินกายใจ ทำให้หายใจไม่ออกได้

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง

วิธีใ ส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง

ตัวรัดหน้าอกอยู่ผิดตำแหน่ง

ตัวรัดหน้าอก หรือ Harness Chest Clip นี้ควรอยู่ที่ตรงกลางหน้าอกเสมอ ตัวรัดนี้เป็นตัวบ่งบอกว่าเข็มขัดนิรภัยอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง ถ้าตัวรัดอยู่ผิดตำแหน่งมันจะทำเข็มขัดนิรภัยเคลื่อนหลุดออกจากบริเวณแขนของลูก ทำให้เกิดอันตรายได้ ให้เช็คตำแหน่งของมันทุกครั้งก่อนออกเดินทาง

คุณไม่ใช้บูสเตอร์ซีท

booster seat หรือที่รองนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก อุปกรณ์ชนิดนี้เป็นอุปกรณ์สำหรับเด็กที่โตขึ้นมาหน่อย และไม่จำเป็นจะต้องมีจุดรัดนิรภัยมากมายเท่าเด็กเล็ก booster seat ทำมาให้เด็กที่มีอายุโตขึ้นแต่ยังไม่โตพอที่จะนั่งที่นั่งปกติ เพราะสายรัดเข็มขัดนิรภัยของรถยนต์ทั่วไปนั้น มีขนาดไม่พอดีกับเด็ก ถ้าผู้ปกครองให้เด็กใช้เข็มขัดนิรภัยที่มากับตัวรถในช่วงเวลาที่ ร่างกาย ของเขา หรือ เธอ ยังเติบโตไม่เต็มที่ ในเวลาที่มีอุบัติเหตุ เข็มขัดนิรภัยอาจจะกดทับตัวเด็ก ทำให้เกิดอาการอวัยวะภายในช้ำได้

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง

วิธีใส่ คาร์ซีทที่ถูกต้อง

คาร์ซีทบางชนิดไม่ผ่านการรับรอง

ก่อนที่จะซื้อ ผู้ปกครองควรปรึกษา หาข้อมูล และตรวจเช็ค รุ่น วันเดือนปี การผลิตให้เรียบร้อย ว่ารุ่นนี้มีอุปกรณ์ครบครันหรือไม่ ปลอดภัย 100 เปอร์เซ็นต์ หรือไม่

ลูกคุณนอนบนคาร์ซีท ที่อยุ่นอกรถ

จากการวิจัยของประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมากล่าวว่า มีเด็กจำนวนมากที่เสียชีวิต จากการนั่งคาร์ซีทที่ยังไม่ได้เอามาติดตั้งในรถ ในเวลาที่ลูกคุณนอนบนคาร์ซีทนอกรถนั้น ตัวซีทอาจจะล้มทำให้เกิดอันตรายต่อตัวเด็กได้ เราแนะนำว่าให้ใช้คาร์ซีทบนรถเท่านั้น เพื่อความปลอดภัยของหนูน้อยลูกของเรา

วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง

วิธีใส่คาร์ซีทที่ ถูกต้อง

อย่างที่เราได้บอกไปข้างต้นก็คือ การสวมใส่คาร์ซีทให้ลูกนั้น ไม่ได้เป็นเพียงแค่แฟชั่น หรือ เป็นอะไรที่ใส่แล้ว ทำให้ลูกดูเท่ หรือ ดูโก้เท่านั้น แต่ แท้จริงแล้ว คาร์ซีท เป็น สิ่งที่จำเป็นมาก สำหรับการ ดำรงชีวิตของลูก ในแง่การเดินทาง

ถ้าพ่อแม่ มีความจำเป็นที่จะต้องให้ลูกได้เดินทาง ออกไปข้างนอก ไม่ว่าจะเป็น ไปเยี่ยมญาติ ออกไปซื้อของ หรือ ออกไปหาหมอ ตามที่ได้รับนัดหมายนั้น คาร์ซีท จะกลายเป็น สิ่งจำเป็นที่ไม่ว่าจะยังไง ก็ขาดไม่ได้เลย คาร์ซีท จะเป็นตัวช่วย ทำให้ลูกปลอดภัยในเหตุการณ์ ไม่คาดฝันได้

เราเองในฐานะผู้ปกครอง ไม่สามารถทราบได้ว่า ความอันตราย หรือ เหตุการณ์ไม่คาดฝันนั้น จะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ การที่ผู้ปกครองเตรียม พร้อม รับสถานการณ์ต่างๆ เป็นเรื่องที่ควรที่จะทำ เพราะถ้าเกิด เผลอพลาดทำอะไรผิดไปนั้น เราอาจจะกลับไปแก้ปัญหาอะไรไม่ได้เลย

ความปลอดภัยของลูก เป็นเรื่องที่ผู้ปกครอง ต้องนึกถึง เป็นอย่างแรก เนื่องจากเขายังไม่แข็งแรงมากพอ ที่จะปกป้องและดูแลตัวเอง ได้อย่างเต็มที่ เพราะฉะนั้น ช่วยเวลานี้ จึงเป็น ช่วงเวลาที่ เปราะบาง มาก และ คนเดียวที่จะปกป้องเขาได้ก็คือ ผู้ปกครอง หรือ คุณพ่อ คุณแม่นั้นเอง

ที่มา : 1

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

ฤกษ์ออกรถมอเตอร์ไซค์ 2563 ฤกษ์ออกรถ ออกรถมอเตอร์ไซค์วันไหนดี เช็กเลย!!

ทารกเดินทางไกล นั่งคาร์ซีท พาลูกนั่งรถไกล ๆ ทารกต้องนั่งคาร์ซีทเพื่อความปลอดภัยในการเดินทาง

คิดส์ซาเนีย จับมือ บี-ควิก จัดโครงการ “B-Quik Racing Junior 2019”

บทความจากพันธมิตร
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
กระเป๋าแม่ลูกอ่อน สำคัญอย่างไร เลือกกระเป๋าแบบไหนให้สะดวกต่อการใช้งานมากที่สุด
กระเป๋าแม่ลูกอ่อน สำคัญอย่างไร เลือกกระเป๋าแบบไหนให้สะดวกต่อการใช้งานมากที่สุด
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ  ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Jitawat Jansuwan

  • หน้าแรก
  • /
  • ไลฟ์สไตล์
  • /
  • วิธีใส่คาร์ซีทที่ถูกต้อง เช็ควิธีที่คุณใส่ที่นั่งบนรถให้ลูกว่าทำถูกหรือไม่
แชร์ :
  • วินาทีเฉียดตาย! เมื่อรถไปชนท้ายรถบรรทุก การติดตั้งคาร์ซีทที่ถูกต้อง สำคัญมาก

    วินาทีเฉียดตาย! เมื่อรถไปชนท้ายรถบรรทุก การติดตั้งคาร์ซีทที่ถูกต้อง สำคัญมาก

  • ความสําคัญของคาร์ซีท คาร์ซีทจำเป็นไหม วิธีฝึกลูกนั่งคาร์ซีท ให้ทารก เด็กเล็ก ปลอดภัย

    ความสําคัญของคาร์ซีท คาร์ซีทจำเป็นไหม วิธีฝึกลูกนั่งคาร์ซีท ให้ทารก เด็กเล็ก ปลอดภัย

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • วินาทีเฉียดตาย! เมื่อรถไปชนท้ายรถบรรทุก การติดตั้งคาร์ซีทที่ถูกต้อง สำคัญมาก

    วินาทีเฉียดตาย! เมื่อรถไปชนท้ายรถบรรทุก การติดตั้งคาร์ซีทที่ถูกต้อง สำคัญมาก

  • ความสําคัญของคาร์ซีท คาร์ซีทจำเป็นไหม วิธีฝึกลูกนั่งคาร์ซีท ให้ทารก เด็กเล็ก ปลอดภัย

    ความสําคัญของคาร์ซีท คาร์ซีทจำเป็นไหม วิธีฝึกลูกนั่งคาร์ซีท ให้ทารก เด็กเล็ก ปลอดภัย

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ