X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เกณฑ์น้ำหนักที่เหมาะสมสำหรับทารก

บทความ 3 นาที
เกณฑ์น้ำหนักที่เหมาะสมสำหรับทารก

สารอาหารที่ทารกได้รับจากคุณแม่ทำให้ทารกแรกคลอดที่ตัวเล็กนิดเดียวเติบโตได้อย่างรวดเร็วในเวลาไม่กี่เดือน ดังนั้นโภชนาการที่ดีของคุณแม่จึงสำคัญต่อสุขภาพที่แข็งแรงของลูกน้อยและน้ำหนักทารกที่เพิ่มขึ้นในเกณฑ์ที่เหมาะสม

น้ำหนัก ทารก ที่เหมาะสม

เกณฑ์น้ำหนักที่เหมาะสมสำหรับทารก

น้ำหนักทารกที่เหมาะสม?

ทารกเกิดมาหนักเท่าไหร่ไม่สำคัญเท่ากับทารกมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นในเกณฑ์ที่เหมาะสม น้ำหนักทารกแต่ละคนไม่เท่ากัน ขึ้นกับกรรมพันธุ์ สุขภาพของคุณแม่ และโภชนาการที่ได้รับตั้งแต่ยังอยู่ในท้อง เกณฑ์การเพิ่มน้ำหนักของทารกจึงเป็นตัววัดที่ถูกต้อง ไม่ใช่น้ำหนักทารกแรกเกิด

น้ำหนักหลังคลอดลดลง

เด็กแรกคลอดทุกคนมีรูปแบบการเจริญเติบโต และสิ่งแรกที่เกิดขึ้นหลังคลอดคือน้ำหนักลดลงเพราะทารกกำลังปรับตัวให้คุ้นเคยกับการดูดนม ส่วนแม่ที่ให้นมลูกก็ต้องปรับตัวให้คุ้นเคยกับการสร้างน้ำนมเช่นกัน ทารกหลายคนน้ำหนักลดลง 10% ในช่วง 2- 3 วันแรกหลังคลอด แต่ 10 วันหลังจากนั้นน้ำหนักก็จะเพิ่มขึ้นอีก

เกณฑ์วัดการเติบโตของทารก

Advertisement

เกณฑ์วัดการเติบโตของทารกดูจากกราฟน้ำหนัก ทารกวัยเดียวกันอาจมีขนาดตัวไม่เท่ากัน แต่น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นควรอยู่ในเกณฑ์ที่สม่ำเสมอและอยู่ในช่วงเดียวกันของกราฟ ถ้าลูกของคุณอยู่ในส่วนบนสุดหรือล่างสุดของตารางกราฟน้ำหนัก ก็ไม่ได้หมายความว่าลูกน้อยของคุณมีน้ำหนักมากหรือน้อยเกินไป

คุณแม่ควรไปพบแพทย์ตามนัดสม่ำเสมอ ทั้งคุณแม่และแพทย์จะได้ติดตามและรู้ถึงการเติบโตของลูกน้อยได้ทุกช่วงระยะและซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ ให้คลายกังวล

คุณแม่คงอยากรู้ว่าน้ำหนักทารกเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ถึงจะเหมาะสม?

ปกติแล้ว น้ำหนักทารกเพิ่มขึ้นอยู่ระหว่าง 175 ถึง 225 กรัม ( 6ออนซ์ ถึง 8 ออนซ์) ต่อสัปดาห์ ในช่วง2- 3 อาทิตย์แรก หลัง 6 เดือนไปแล้ว น้ำหนักทารกจะเพิ่มเป็น 2 เท่าจากแรกคลอด หลังจากนั้นน้ำหนักทารกจะเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ ไม่รวดเร็วเหมือนตอน 6 เดือนแรก

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

คุณแม่ควรใช้แผนภูมิน้ำหนักทารกเป็นแนวทางเท่านั้น บางช่วงทารกมีน้ำหนักคงที่อาจเป็นเพราะไม่สบายหรือเผาผลาญแคลอรีมากไปจากการเริ่มหัดคลาน ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดา ถ้าคุณแม่สงสัยหรือกังวลเรื่องน้ำหนักทารก ควรปรึกษาแพทย์และขอคำแนะนำที่เหมาะสม

บทความใกล้เคียง: เด็กแรกเกิดสัปดาห์แรกหลังคลอด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เกณฑ์น้ำหนักที่เหมาะสมสำหรับทารก
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว