X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สร้างความสัมพันธ์กับทารกแรกเกิดของคุณ

บทความ 3 นาที
สร้างความสัมพันธ์กับทารกแรกเกิดของคุณ

การสร้างความสัมพันธ์กับทารกแรกเกิดของคุณเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา ความสัมพันธ์นี้เป็นผลที่เกิดจากการเอาใจใส่ทุกวัน ดังนั้น หากคุณแม่ต้องการสร้างความสัมพันธ์กับลูกน้อยอย่างต่อเนื่อง ลองอ่านบทความนี้ดูสิ เรามีวิธีดี ๆ มาบอกคุณ...

ความสัมพันธ์ ทารกแรกเกิด

คุยกับลูกและสัมผัสเขาเพื่อสร้างความสัมพันธ์

มันเป็นช่วงเวลาที่มหัศจรรย์มาก! ในตอนแรกที่เขาออกมาสู่โลกจากท้องของฉัน ฉันมองดูลูกด้วยความกลัว ความเจ็บปวดจากการคลอดลูกที่ฉันเพิ่งประสบมาไม่สามารถเทียบได้กับความสุขเมื่อตอนที่ฉันได้เห็นลูกน้อยครั้งแรก น้ำตาล้นเอ่อเมื่อได้อุ้มลูกน้อยไว้บนตัก ฉันรู้สึกถึงแรงผลักดันอันแรงกล้าและรู้สึกถึงความห่วงใยที่มีต่อลูก ฉันมีความสุขมาก! ฉันไม่เคยลืมวันที่ฉันให้กำเนิดลูกน้อยคนแรก มันเจ็บปวดมากแต่ก็มีความสุขที่รู้ว่ามีสิ่งมีชีวิตได้ก่อรูปขึ้นในท้องของฉัน และความผูกพันที่ฉันรู้สึกกับลูกน้อยนั้นยิ่งมีมากและลึกซึ้งขึ้น ฉันไม่รู้จะอธิบายอย่างไร มันเป็นความรู้สึกของความใกล้ชิดที่มากกว่าที่ฉันรู้สึกกับพ่อแม่ พี่น้อง เพื่อน ๆ หรือสามีของตัวเองเสียอีก นี่อาจเป็นสิ่งที่เรียกกันว่าสายใยพิเศษระหว่างแม่และลูกก็เป็นได้

อย่างไรก็ตาม ฉันก็ยังเชื่อว่าการทำให้สายใยพิเศษระหว่างแม่และลูกแข็งแกร่งขึ้นนั้นต้องใช้เวลา ดังนั้น คุณแม่ทั้งหลายมีวิธีสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคุณกับลูกให้แข็งแรงขึ้นได้อย่างไรบ้าง?

ขณะตั้งท้อง

จริง ๆ แล้ว การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างแม่และลูกเริ่มตั้งแต่ในท้อง ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับร่างกายของแม่หมายถึงมีอีกชีวิตหนึ่งกำลังเติบโตอยู่ในท้อง เมื่อร่างกายแม่มีการเปลี่ยนแปลง คุณควรสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับลูกน้อย ลูกน้อยสามารถได้ยินและจำเสียงคุณได้ตั้งแต่อายุครรภ์ได้ 4 เดือน และขณะอยู่ในท้อง ลูกของคุณก็จะตอบสนองต่อเสียงของคุณเมื่อคุณคุยกับเขา

หลังคลอด

แม่และลูกที่สร้างความสัมพันธ์กันตั้งแต่ลูกยังอยู่ในท้อง สามารถทำได้ต่อหลังจากที่คลอดลูก ขณะที่อยู่โรงพยาบาล คุณอาจขอให้แพทย์หรือคนอื่น ๆ ช่วยวางลูกที่ตักหรือหน้าอกของคุณเพื่อที่คุณจะได้คุยกับลูกน้อยที่เป็นทารกแรกเกิด หากเป็นไปได้และคุณไม่เหนื่อยจนเกินไป คุณสามารถให้นมลูกหลังคลอดได้ทันที ถ้าคุณไม่สามารถให้นมได้ พยายามให้ลูกน้อยอยู่กับคุณให้มากที่สุดขณะที่คุณยังอยู่ที่โรงพยาบาล และเมื่อคุณกลับบ้าน ลองใช้วิธีดังต่อไปนี้เพื่อสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับลูกน้อยของคุณ:

สัมผัสลูกน้อยบ่อยครั้ง

การอุ้มหรือกอดลูกจะทำให้เขารู้สึกสบายใจ และเป็นวิธีแรก ๆ ที่ใช้ในการสื่อสารกับทารกแรกเกิด เช่นเดียวกับการสัมผัสที่ผิวของลูก ซึ่งถือเป็นการการบำบัดอย่างหนึ่งสำหรับลูกน้อยของคุณ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นอีกวิธีที่จะให้คุณได้สัมผัสลูก ซึ่งจะช่วยสร้างสายใยรักที่แข็งแกร่งขึ้นได้ การนวดทารกแรกเกิดเบา ๆ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง นอกจากจะช่วยให้ลูกมีสุขภาพที่ดีขึ้นแล้ว ยังเป็นอีกวิธีที่จะให้คุณได้สัมผัสกับลูก

มองที่ตาของลูก

คุณสามารถสื่อสารกับลูกด้วยการมองที่ตาของลูกได้ อุ้มลูกน้อยหรือให้ลูกอยู่ในระยะใกล้ประมาณ 8-10 นิ้ว เพื่อให้ลูกน้อยได้เห็นคุณ เมื่อคุณคุยกับลูก ให้มองที่ตาของลูกและคุณจะรู้ว่าลูกตอบสนองต่อคุณอย่างไร

คุยกับลูก

ถ้าลูกคุณจำเสียงคุณได้แล้วตั้งแต่ที่เขาอยู่ในท้อง ลูกคุณก็ยิ่งจะจำเสียงคุณได้มากขึ้นเมื่อเขาออกมาลืมตาดูโลก นอกจากนี้ ทารกแรกเกิดชอบฟังเสียงคน ดังนั้น คุณควรพูดกับลูกบ่อย ๆ คุยกับลูกเมื่อคุณทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น อาบน้ำให้ลูก เปลี่ยนผ้าอ้อม เป็นต้น คุณอาจอ่านนิทานหรือร้องเพลงให้ลูกฟัง ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้ลูกคุณเรียนรู้เสียงและช่วยพัฒนาทักษะทางด้านภาษาได้

การสร้างความสัมพันธ์กับลูกน้อยสามารถทำได้ง่าย ๆ ไม่ว่าจะเป็นการกอดหรือจั๊กจี๋เบา ๆ แต่อย่ารู้สึกกลุ้มใจไปหากคุณรู้สึกว่าความสัมพันธ์ระหว่างคุณและลูกยังไม่ไปถึงไหน เพราะมันต้องใช้เวลา ดังนั้น คุณควรกอดและสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกไปเรื่อย ๆ

บทความใกล้เคียง: อะไรเป็นสิ่งปกติและไม่ปกติในเด็กแรกเกิด

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • สร้างความสัมพันธ์กับทารกแรกเกิดของคุณ
แชร์ :
  • 7 วิธีจัดการ ความสัมพันธ์ไม่ชัดเจน ตกอยู่ในสถานะไม่ชัดเจน จัดการยังไง?

    7 วิธีจัดการ ความสัมพันธ์ไม่ชัดเจน ตกอยู่ในสถานะไม่ชัดเจน จัดการยังไง?

  • ความสัมพันธ์และพัฒนาการของเด็ก เด็กวัย 0-5 ปี สำคัญอย่างไร

    ความสัมพันธ์และพัฒนาการของเด็ก เด็กวัย 0-5 ปี สำคัญอย่างไร

  • 7 วิธีจัดการ ความสัมพันธ์ไม่ชัดเจน ตกอยู่ในสถานะไม่ชัดเจน จัดการยังไง?

    7 วิธีจัดการ ความสัมพันธ์ไม่ชัดเจน ตกอยู่ในสถานะไม่ชัดเจน จัดการยังไง?

  • ความสัมพันธ์และพัฒนาการของเด็ก เด็กวัย 0-5 ปี สำคัญอย่างไร

    ความสัมพันธ์และพัฒนาการของเด็ก เด็กวัย 0-5 ปี สำคัญอย่างไร

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ