theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • ประกันชีวิต
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • TAP IDOL

ระวัง! ลูกน้อยฟันผุ จากการจูบและป้อนอาหารของแม่

บทความ 3 นาที
•••
ระวัง! ลูกน้อยฟันผุ จากการจูบและป้อนอาหารของแม่ระวัง! ลูกน้อยฟันผุ จากการจูบและป้อนอาหารของแม่

ลูกน้อยฟันผุ ตั้งแต่อายุน้อยๆ สาเหตุหนึ่งมาจากการดูแลของคุณแม่หรือเปล่า? โดยเฉพาะการจูบ การหอม การป้อนอาหารที่ทำให้หนูน้อยต้องเป็นแบบนี้

ลูกน้อยฟันผุ เพราะรอยจูบของแม่

ลูกน้อยฟันผุ เพราะความใกล้ชิดของแม่ได้นะ ไม่ว่าจะเป็นการหอม จูบ หรือแม้แต่การเป่าอาหารให้ลูกก่อนกินข้าว ไม่น่าเชื่อว่าสิ่งเหล่านี้จะทำให้ลูกน้อยได้รับเชื้อฟันผุอย่างไม่รู้ตัว โดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของพ่อแม่หรือคนเลี้ยง

 

ฟันผุเป็นโรคติดต่อด้วยหรอ?

การได้รับเชื้อฟันผุในช่องปากของแม่นี้ เป็นงานวิจัยที่ตีพิมพ์โดย Australian Dental Journal ในปี 2007 ระบุว่าเด็กที่ฟันผุ ส่วนใหญ่ได้รับเชื้อมาจากคนที่เลี้ยงดูอย่างใกล้ชิด จากการตรวจสอบที่พบว่าในช่องปากของทั้งคนเลี้ยงและเด็ก มีเชื้อที่ทำให้ฟันผุตัวเดียวกัน สามารถติดต่อได้ทางน้ำลาย เนื่องจากฟันผุเป็นโรคติดต่อจากเชื้อแบคทีเรีย สเตร็ปโตค็อกคัส มิวแทนส์ ซึ่งจะย่อยแป้งและน้ำตาลที่ติดตามซอกฟัน ทำให้สารเคลือบฟันโดนทำลาย ส่วนใหญ่ลูกจะติดตอนที่พ่อแม่ป้อนข้าวลูกที่มาจากการเป่าอาหาร กัดอาหาร หรือเคี้ยวอาหารป้อนให้ลูกน้อย ซึ่งพบมากในเด็กอายุ 3 – 6 ขวบ

การจูบบริเวลณริมฝีปาก หรือแม้แต่การใช้หลอดดูดน้ำ ใช้ช้อนร่วมกัน ก็ทำให้ลูกน้อยเป็นฟันผุจากการสัมผัสน้ำลายที่มีเชื้อแบคทีเรียพวกนั้นได้ ผู้ปกครองบางคนอาจมองว่าแค่ฟันน้ำนมเองลูกฟันผุคงไม่เป็นไรหรอก เดี๋ยวฟันน้ำนมก็หลุด ฟันแท้ขึ้นมาก่อนค่อยดูแลให้ลูกก็ได้ อยากจะบอกว่าความคิดเหล่านั้นผิดมาก เพราะหากลูกฟันผุตั้งแต่เด็กแล้วล่ะก็ มันจะลุกลามไปยังซี่อื่นทำให้ลูกน้อยเจ็บปวดจนไม่สามารถทานข้างหรือกินข้าวได้น้อยลงด้วย

ลูกน้อยฟันผุ

แม่จูบลูกทำฟันผุ

 

นอกจากนี้ ฟันผุยังทำให้เบบี๋ต้องถอนฟันออกไปก่อนถึงเวลาอันควร และทำให้เกิดปัญหาฟันเก ฟันซ้อน และปัญหาในช่องปากอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย พ่อแม่อย่ารอให้ลูกเป็นแบบนั้นเลย ป้องกันไว้ดีกว่าค่ะ

 

แม่ฟันผุตอนท้องลูกเราจะฟันผุด้วยจริงไหม?

ถ้าแม่ไม่อยากให้ลูกฟันผุ คุณแม่สามารถเริ่มสร้างสุขภาพฟันที่ดีให้กับลูกน้อยได้ตั้งแต่ช่วงตั้งท้อง เพราะรู้หรือไม่ว่าถ้าแม่ท้องฟันผุ หรือเหงือกอักเสบ สิ่งเหล่านี้มันจะส่งผ่านไปยังลูกในท้องได้ และคุณหมอยังได้แนะนำว่าให้คุณแม่ที่ตั้งครรภ์ควรเข้ารับการรักษาฟันผุขณะที่ตั้งท้อได้ 4-6 เดือน เป็นเวลาที่เหมาะสมที่สุด

สำหรับเด็กๆ หลังจากที่น้องคลอดออกมา ต้องรอให้เด็กได้ตอนขึ้นมาหนอยก่อนหลังจากนั้นคุณแม่ค่อยสอนเรื่องการรักษาสุขภาพฟันและช่องปากไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแปรงฟัน การบ้วนปาก หรือการเลือกทานอาหารที่ไม่ทำลายฟัน

ลูกฟันผุ

ลูกฟันผุ

ส่วนในเรื่องความเชื่อที่ว่าฟันผุสามารถส่งต่อผ่านทางพันธุกรรมได้นั้น เป็นความเชื่อที่ไม่ถูกทั้งหมดค่ะ เพราะการที่พ่อแม่ฟันผุแล้วลูกฟันผุด้วยน่าจะมาการนิสัยการกินของพ่อแม่ที่ส่งถึงลูกมากกว่า เนื่องจากพ่อแม่มักจะสร้างนิสัยการกินของลูกคล้ายๆ กับนิสัยของตัวเอง หากคุณอยากให้ลูกน้อยมีฟันสวย ฟันไม่ผุ ไม่มีกลิ่นปาก ต้องปลูกฝังให้ลูกน้อยดูแลช่องปากตั้งแต่เด็กๆ นะคะ

 

ที่มา: betterteeththailand

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

ลูกชอบกลืนยาสีฟัน ทำไงดี อันตรายไหมแบบนี้ มีผลร้ายไหม?

ลูกเป็นภูมิแพ้อากาศ แค่ปัดกวาดเช็ดฝุ่นในบ้านเพียงพอหรือไม่?

ลูกฟันผุ ไม่ใช่เรื่องเล็ก รวมคลินิกทำฟันเด็ก โรงพยาบาล กทม.-ตจว.

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • ระวัง! ลูกน้อยฟันผุ จากการจูบและป้อนอาหารของแม่
แชร์ :
•••
  • หนูน้อย 5 ขวบฟันผุ 14 ซี่ หมอต้องวางยาสลบ ถอน-ครอบฟัน เย็บอีก 9 เข็ม

    หนูน้อย 5 ขวบฟันผุ 14 ซี่ หมอต้องวางยาสลบ ถอน-ครอบฟัน เย็บอีก 9 เข็ม

  • ลูกฟันผุมาก ทะลุโพรงประสาทฟัน กรมอนามัยแนะต้องพาลูกหาหมอฟัน ตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก

    ลูกฟันผุมาก ทะลุโพรงประสาทฟัน กรมอนามัยแนะต้องพาลูกหาหมอฟัน ตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก

  • 500 ชื่อเล่นลูกสาว สองพยางค์ ชื่อลูกสาวน่ารักๆ เพราะๆ เก๋ๆ ไม่ซ้ำใคร

    500 ชื่อเล่นลูกสาว สองพยางค์ ชื่อลูกสาวน่ารักๆ เพราะๆ เก๋ๆ ไม่ซ้ำใคร

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

app info
get app banner
  • หนูน้อย 5 ขวบฟันผุ 14 ซี่ หมอต้องวางยาสลบ ถอน-ครอบฟัน เย็บอีก 9 เข็ม

    หนูน้อย 5 ขวบฟันผุ 14 ซี่ หมอต้องวางยาสลบ ถอน-ครอบฟัน เย็บอีก 9 เข็ม

  • ลูกฟันผุมาก ทะลุโพรงประสาทฟัน กรมอนามัยแนะต้องพาลูกหาหมอฟัน ตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก

    ลูกฟันผุมาก ทะลุโพรงประสาทฟัน กรมอนามัยแนะต้องพาลูกหาหมอฟัน ตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก

  • 500 ชื่อเล่นลูกสาว สองพยางค์ ชื่อลูกสาวน่ารักๆ เพราะๆ เก๋ๆ ไม่ซ้ำใคร

    500 ชื่อเล่นลูกสาว สองพยางค์ ชื่อลูกสาวน่ารักๆ เพราะๆ เก๋ๆ ไม่ซ้ำใคร

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
บทความ
  • สังคมออนไลน์
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • สุขภาพ
  • ชีวิตครอบครัว
  • การศึกษา
  • ไลฟ์สไตล์​
  • วิดีโอ
  • ชอปปิง
  • TAP IDOL
เครื่องมือ
  • ?คอมมูนิตี้สำหรับคุณแม่
  • ติดตามการตั้้งครรภ์
  • ติดตามพััฒนาการของลูกน้อย
  • สูตรอาหาร
  • อาหาร
  • โพล
  • VIP Parents
  • การประกวด
  • โฟโต้บูท

ดาวน์โหลดแอปของเรา

  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • กฎการใช้งานคอมมูนิตี้
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ?ฟีด
  • โพล
เปิดในแอป