X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ก้างติดคอ ทําไง ก้างปลาติดคอ ก้างติดคอลูก วิธีแก้ทำอย่างไร เอาแมวมาเขี่ยคอ ดื่มน้ำมะนาว หรือกลืนข้าวคำโต

บทความ 3 นาที
ก้างติดคอ ทําไง ก้างปลาติดคอ ก้างติดคอลูก วิธีแก้ทำอย่างไร เอาแมวมาเขี่ยคอ ดื่มน้ำมะนาว หรือกลืนข้าวคำโต

ความเชื่อผิด ๆ ที่ใช้กันมาตลอด ก้างปลาติดคอลูก วิธีแก้ปัญหาก้างติดคอที่ดีที่สุด ต้องทำอย่างไร

ก้างติดคอ ทําไง

ก้างติดคอ ทําไง วิธีแก้ก้างติดคอ เอาแมวมาเขี่ยคอ ดื่มน้ำมะนาว หรือกลืนข้าวคำโต ทำแบบนี้ลูกจะหายหรือไม่

 

วิธีแก้ก้างติดคอ ทําไง

ก้างปลาติดคอลูกทำอย่างไรดี?

ก้างปลาติดคอเป็นปัญหาที่พบบ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่โดยเฉพาะในครอบครัวที่ชอบทานปลา ปัจจุบันยังมีความเข้าใจผิดหรือความเชื่อแต่โบราณที่ว่า

  • ติดคอให้เอาแมวมาเขี่ยคอ
  • กินข้าวหรือข้าวเหนียวคำใหญ่ ๆ
  • ดื่มน้ำเปล่าหรือน้ำมะนาวเยอะ ๆ เพื่อให้ก้างปลาหลุดไป

ซึ่งล้วนเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องและไม่ได้ช่วยให้ก้างปลาหลุดออกมาแต่อย่างใด อีกทั้งการกลืนข้าวหรือข้าวเหนียวคำใหญ่อาจยิ่งทำให้ก้างตำลึกลงไป หรือเปลี่ยนตำแหน่งไปอยู่ในที่ ๆ เป็นอันตรายได้มากขึ้น เรามาดูกันนะคะว่าหากลูกก้างปลาติดคอควรจะทำอย่างไร จึงจะเป็นการดูแลที่ถูกต้องและไม่เป็นอันตราย

 

ก้างปลาติดคอลูก

“ก้างปลา” ก็คือกระดูกของปลาซึ่งแข็ง มีปลายแหลม มีส่วนประกอบหลักคือ แคลเซียม มีขนาดและความยาวที่แตกต่างกันตามชนิดของปลา ในผู้ป่วยที่ก้างปลาติดคอจะสามารถไปติดอยู่ตามตำแหน่งต่าง ๆ ในคอ เช่น เพดานอ่อน ต่อมทอนซิล ผนังคอหอย โคนลิ้น ฝาปิดกล่องเสียง โดยมักจะไปติดที่บริเวณต่อมทอนซิล บริเวณส่วนฐานของลิ้น ซึ่งมักสามารถมองเห็น และสามารถนำออกมาจากบริเวณที่โดนตำได้ง่าย

แต่บางครั้งก้างปลาอาจตำลึกลงไปที่บริเวณหลอดอาหาร ซึ่งอาจไม่สามารถมองเห็นได้และการนำก้างปลาออกมาทำได้ยาก จนเกิดแผลและการอักเสบแก่อวัยวะภายในที่โดนตำรวมถึงเนื้อเยื่อข้างเคียง หากปล่อยทิ้งไว้อาจมาซึ่งความรุนแรงจนเกิดการทะลุของหลอดอาหาร เกิดภาวะแทรกซ้อนจากบาดแผล และการติดเชื้ออย่างรุนแรง เช่น ฝีในคอ มีหนองในช่องอกและเยื่อหุ้มหัวใจ ฝีในปอด ซึ่งอาจเกิดอันตรายร้ายแรงจนทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้

 

ก้างติดคอ ทําไง ก้างปลาติดคอ ก้างติดคอลูก วิธีแก้ทำอย่างไร เอาแมวมาเขี่ยคอ ดื่มน้ำมะนาว หรือกลืนข้าวคำโต วิธีแก้ก้างติดคอ ดื่มน้ำมะนาว กลืนข้าวคำโต จะหายไหม

ก้างติดคอ ทําไงดี

ลูกก้างติดคอหาหมอดีที่สุด

สิ่งที่ควรทำเมื่อก้างปลาติดคอ ไม่ว่าในเด็กหรือผู้ใหญ่ คือ ควรไปพบคุณหมอเพื่อให้ช่วยเอาออก เบื้องต้นคุณหมอจะสอบถามอาการและตรวจร่างกาย หากสามารถมองเห็นก้างปลาในคอได้ชัดเจนคุณหมอก็จะนำเครื่องมือที่เหมาะสมมาช่วยหยิบหรือคีบออกไป แต่หากไม่สามารถมองเห็นก้างปลาได้จากภายนอก คุณหมออาจพิจารณาส่งตรวจเอกซเรย์ธรรมดาเพื่อดูตำแหน่งของก้างปลาในคอและช่องอกก่อน หากไม่เห็นชัดเจนหรือสงสัยว่าอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนก็จะพิจารณาส่งตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) บริเวณหลอดอาหารและท้อง หรืออาจส่องกล้องขนาดเล็กเข้าไปทางปากเพื่อส่องดูบริเวณคอหอยและหลอดอาหาร และใช้เครื่องมือที่เหมาะสมนำก้างปลาออกมา

ทั้งนี้ หากไม่สามารถเห็นตำแหน่งของก้างปลาจากการตรวจเอกซเรย์ธรรมดาหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ แต่ผู้ป่วยยังมีอาการเจ็บในบริเวณคออยู่ คุณหมอจะนัดมาติดตามอาการภายใน 24 ชั่วโมง หากอาการหายไปก็อาจเพราะก้างปลาอาจหลุดผ่านหลอดอาหารลงไปในระบบย่อยอาหารแล้ว แต่หากอาการยังมีอยู่คุณหมออาจพิจารณาส่องกล้องเพื่อหาตำแหน่งของก้างปลาให้เจอและแน่ใจว่าไม่ได้เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่ออื่นค่ะ

 

ก้างปลาติดคออาจไม่ได้เป็นเพียงปัญหาเล็ก ๆ หากไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม หากลูกก้างปลาติดคอก็ควรไปพบคุณหมอให้ช่วยเอาออกดีกว่านะคะ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ลูกขาดวิตามิน ลูกขาดสารอาหาร ลูกไม่กินข้าว อาหารเสริม ทารกขอกินแต่นม ทั้งที่ถึงวัยต้องเสริมอาหารแล้ว

วิธีเลี้ยงลูกให้แข็งแรง อาการป่วยเด็กเล็ก เด็กโต การดูแลลูกให้แข็งแรง​ฉลาดสมวัย ไอคิวดี อารมณ์แจ่มใส

สัญญาณอันตรายของเด็ก วัยแรกเกิด -11 ปี ลูกมีอาการแบบนี้ ควรพบแพทย์ด่วน

Tip เลี้ยงลูกให้สมองดีทำได้ไม่ยาก

 

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • ก้างติดคอ ทําไง ก้างปลาติดคอ ก้างติดคอลูก วิธีแก้ทำอย่างไร เอาแมวมาเขี่ยคอ ดื่มน้ำมะนาว หรือกลืนข้าวคำโต
แชร์ :
  • เมื่อลูก ก้างติดคอ ก้างปลาติดคอ จะปล่อยไว้ หรือควรพาไปหาหมอดี

    เมื่อลูก ก้างติดคอ ก้างปลาติดคอ จะปล่อยไว้ หรือควรพาไปหาหมอดี

  • อาหารติดคอเด็ก ภัยร้ายใกล้ตัว ที่ต้องคอยระแวดระวังอยู่เสมอ

    อาหารติดคอเด็ก ภัยร้ายใกล้ตัว ที่ต้องคอยระแวดระวังอยู่เสมอ

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • เมื่อลูก ก้างติดคอ ก้างปลาติดคอ จะปล่อยไว้ หรือควรพาไปหาหมอดี

    เมื่อลูก ก้างติดคอ ก้างปลาติดคอ จะปล่อยไว้ หรือควรพาไปหาหมอดี

  • อาหารติดคอเด็ก ภัยร้ายใกล้ตัว ที่ต้องคอยระแวดระวังอยู่เสมอ

    อาหารติดคอเด็ก ภัยร้ายใกล้ตัว ที่ต้องคอยระแวดระวังอยู่เสมอ

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ