X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก "วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก" กันดีกว่า ตอนที่ 1

บทความ 5 นาที
พ่อแม่จ๋า มารู้จัก "วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก" กันดีกว่า ตอนที่ 1

วัคซีนสำหรับเด็กในปัจจุบันมี 2 ชนิดค่ะ ชนิดแรกคือวัคซีนพื้นฐานที่เด็กไทยควรได้รับตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข สำหรับป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย ชนิดที่สองคือวัคซีนเสริม หรือวัคซีนที่อยู่นอกเหนือแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก “วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก” กันดีกว่า ตอนที่ 1

พาลูกฉีดวัคซีนเสริม

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก “วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก” กันดีกว่า ตอนที่ 1

วัคซีนพื้นฐาน ฉีดไว้เพื่อป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย ได้แก่ วัคซีนวัณโรค วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีนรวม คอตีบ – บาดทะยัก – ไอกรน วัคซีนโปลิโอ วัคซีนรวมหัด – คางทูม – หัดเยอรมัน วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี

วัคซีนเสริม หรือวัคซีนที่อยู่นอกเหนือแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ วัคซีนฮิบ วัคซีนโรต้า วัคซีนนิวโมคอคคัส วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนตับอักเสบเอ วัคซีนสุกใส และวัคซีนมะเร็งปากมดลูก

วัคซีนเสริมมักมีราคาสูง ทำให้คุณพ่อคุณแม่หลายท่านสงสัยว่ามีความจำเป็นหรือไม่ที่ลูกต้องได้รับการฉีดวัคซีนเหล่านี้ ซึ่งมีความสำคัญในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็ก ๆ เช่นกัน หมอจะมาเล่าให้ฟังเพื่อที่คุณพ่อคุณแม่จะได้รู้จัก และทำความเข้าใจกับวัคซีนเสริมเหล่านี้ เพื่อพิจารณาฉีดว่าจะให้กับลูกหรือไม่ค่ะ

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก กันดีกว่า ตอนที่ 1

วัคซีนเสริมมักมีราคาสูง ทำให้คุณพ่อคุณแม่หลายท่านสงสัยว่ามีความจำเป็นหรือไม่

โดยวันนี้จะกล่าวถึงวัคซีนเสริม 3 ชนิด คือ วัคซีนฮิบ วัคซีนโรต้า วัคซีนนิวโมคอคคัส

วัคซีนฮิบ เป็นวัคซีนป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย H. influenzae type b หรือ Hib ซึ่งก่อให้เกิดโรคที่อันตรายร้ายแรงในเด็กเล็ก โดยเฉพาะอายุน้อยกว่า 2 ปี คือ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ปอดบวม ติดเชื้อในกระแสเลือด โดยแนะนำให้ฉีด 3 เข็ม ที่อายุ 2, 4, และ 6 เดือน เนื่องจากช่วงอายุเหล่านี้ตรงกับอายุที่เด็กต้องได้รับวัคซีนคอตีบ – บาดทะยัก – ไอกรน พอดี วัคซีนฮิบจึงถูกผลิตอยู่ในรูปแบบที่รวมเป็นเข็มเดียวกับวัคซีนรวมคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก กันดีกว่า ตอนที่ 1

วัคซีนฮิบ เป็นวัคซีนป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย H. influenzae type b

วัคซีนโรต้า เป็นวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสโรต้า ซึ่งทำให้เกิดอาการ มีไข้ ท้องเสีย อาเจียน และอาจมีอาการรุนแรงจนร่างกายขาดน้ำและเกลือแร่ได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็ก อายุน้อยกว่า 2 ปี โดยไวรัสโรต้าเป็นไวรัสที่ก่อให้เกิดอาการท้องเสียที่สำคัญของเด็กเล็กในประเทศไทย ปัจจุบันวัคซีโรต้าอยู่ในรูปแบบรับประทาน มี 2 ชนิดตามสายพันธุ์ที่ใช้ในการผลิตวัคซีน แนะนำให้วัคซีนในเด็กอายุ 2, 4, และ 6 เดือน หรือ 2, 4 เดือน แล้วแต่ชนิดของวัคซีนที่เลือกใช้

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก กันดีกว่า ตอนที่ 1

วัคซีนโรต้า เป็นวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสโรต้า ซึ่งทำให้เกิดอาการ มีไข้ ท้องเสีย อาเจียน

วัคซีนนิวโมคอคคัส เป็นวัคซีนป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียนิวโมคอคคัส หรือ S. pneumoniae ซึ่งก่อให้เกิดโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ในเด็กเล็กโดยพบมาก รองจากเชื้อฮิบ นอกจากนั้นยังเป็นสาเหตุของโรคปอดอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ และติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรงได้ วัคซีนนิวโมคอคคัสที่ใช้กันในปัจจุบันสำหรับเด็กเล็กมี 2 ชนิด แตกต่างกันตามจำนวนสายพันธุ์ของเชื้อ โดย แนะนำให้ฉีดในเด็กที่อายุตั้งแต่ 6 สัปดาห์ถึง 5 ปี โดยฉีดทั้งหมด 1 – 4 ครั้ง ขึ้นอยู่กับอายุที่เริ่มฉีด

ครั้งหน้าหมอจะมาเล่าให้คุณพ่อคุณแม่ได้รู้จักกับวัคซีนเสริมอีก 4 ชนิดคือ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนตับอักเสบเอ วัคซีนสุกใส และวัคซีนมะเร็งปากมดลูก ในตอนที่ 2 นะคะ

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก กันดีกว่า ตอนที่ 1

วัคซีนนิวโมคอคคัส เป็นวัคซีนป้องกัน การติดเชื้อ แบคทีเรีย นิวโมคอคคัส

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และในเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการของทารก ตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

บทความที่เกี่ยวข้อง :

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

โรงพยาบาล พญาไท –  วัคซีน เครื่องมือป้องกันโรคสำหรับเด็ก

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

ตารางวัคซีนลูกตั้งแต่แรกเกิดถึงวัยรุ่น

ลูกลืมฉีดวัคซีนทำไงดี? จะต้องทำยังไงดี เลื่อนนัดได้ไหม จะมีผลอะไรรึเปล่า?

พ่อแม่จ๋า มารู้จัก “วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก” กันดีกว่า ตอนที่ 2

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • พ่อแม่จ๋า มารู้จัก "วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก" กันดีกว่า ตอนที่ 1
แชร์ :
  • พ่อแม่จ๋า มารู้จัก "วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก" กันดีกว่า ตอนที่ 2

    พ่อแม่จ๋า มารู้จัก "วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก" กันดีกว่า ตอนที่ 2

  • วัคซีนที่ควรฉีดให้ลูก พาลูกไปฉีดวัคซีนให้ครบ วัคซีนพื้นฐาน วัคซีนเสริม เริ่มฉีดตั้งแต่แรกเกิด

    วัคซีนที่ควรฉีดให้ลูก พาลูกไปฉีดวัคซีนให้ครบ วัคซีนพื้นฐาน วัคซีนเสริม เริ่มฉีดตั้งแต่แรกเกิด

  • ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

    ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • พ่อแม่จ๋า มารู้จัก "วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก" กันดีกว่า ตอนที่ 2

    พ่อแม่จ๋า มารู้จัก "วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก" กันดีกว่า ตอนที่ 2

  • วัคซีนที่ควรฉีดให้ลูก พาลูกไปฉีดวัคซีนให้ครบ วัคซีนพื้นฐาน วัคซีนเสริม เริ่มฉีดตั้งแต่แรกเกิด

    วัคซีนที่ควรฉีดให้ลูก พาลูกไปฉีดวัคซีนให้ครบ วัคซีนพื้นฐาน วัคซีนเสริม เริ่มฉีดตั้งแต่แรกเกิด

  • ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

    ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ