X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง เด็กไม่สมบูรณ์ และทารกเสียชีวิตใน 28 วัน

บทความ 3 นาที
เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง เด็กไม่สมบูรณ์ และทารกเสียชีวิตใน 28 วันเด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง เด็กไม่สมบูรณ์ และทารกเสียชีวิตใน 28 วัน

คนที่มีบุตรยากมักพึ่งการทำเด็กหลอดแก้วเป็นทางออก แต่กลับมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อย่างการแท้ง คลอดก่อนกำหนดและเด็กเสียชีวิตภายใน 28 วันแรกหลังลืมตาดูโลก

เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง จริงหรือ?

เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง

การทำ เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง เด็กไม่สมบูรณ์ และทารกเสียชีวิตใน 28 วัน

The Telegraph รายงานว่า จากการเก็บสถิติการคลอดบุตร 3 แสนราย ทั่วออสเตรเลียใต้ ตลอดระยะเวลา 17 ปีที่ผ่านมาของ ทีมวิจัยจาก University of Adelaide พบว่า มีเด็กที่เกิดจาก กระบวนการรักษาผู้มีบุตรยาก 4,300 ราย ทารกที่เกิดจาก กระบวนการผสมเทียมเด็กหลอดแก้ว หรือวิธีอื่น เพื่อรักษาผู้มีบุตรยาก มีความเสี่ยงเพิ่มเป็น 2 เท่าต่อการแท้ง เด็กมีความผิดปกติ หรือ เสียชีวิตภายใน 28 วันหลังจากเกิด เมื่อเทียบกับเด็กที่ปฏิสนธิตามธรรมชาติ

ทารกที่ผ่านกระบวนการ IVF มีแนวโน้มว่าจะแท้ง และ คลอดก่อนกำหนดถึง 2 เท่า มีน้ำหนักตัว น้อยกว่าปกติ 3 เท่า และ มีความเสี่ยงที่อาจเสียชีวิต ในเดือนแรกที่ลืมตาดูโลกเป็น 2 เท่า

อย่างไรก็ตามผลการวิจัยยังพบอีกว่าผู้หญิงที่มีบุตรยากอยู่แล้วแต่สามารถปฏิสนธิได้เองโดยไม่ต้องพึ่งกระบวนการรักษาผู้มีบุตรยากนั้นกลับมีความเสี่ยงสูงกว่าผู้ที่ใช้วิธีการผสมเทียม ทารกในกลุ่มนี้มีความเสี่ยงสูงถึง 7 เท่าต่อการคลอดก่อนกำหนดและการเสียชีวิตภายใน 28 วันแรกหลังคลอด

เด็กหลอดแก้ว

ด้านนายแพทย์ Dagan Wells ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาผู้มีบุตรยากจากมหาวิทยาลัยออกฟอร์ดให้ความเห็นว่า ผลการวิจัยนี้อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับการทำเด็กหลอดแก้วหรือ IVF แต่อาจจะเกิดขึ้น เนื่องจากความผิดปกติด้านระบบสืบพันธุ์ของผู้ป่วยเองก็เป็นได้ พร้อมทั้งให้กำลังใจผู้ที่มีบุตรยาก แต่ต้องการมีทายาทไว้สืบสกุลว่าอย่าสิ้นหวังกับการทำเด็กหลอดแก้ว

นายแพทย์ Dagan กล่าวเพิ่มเติมว่า “บางครั้งผลการวิจัยที่ออกมา อาจจะเป็นอัตราของการคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวทารกแรกเกิดน้อยกว่าปกติ และ การตายของทารกหลังคลอดดูจะเป็นความเสี่ยงของคู่สามีภรรยาอยู่แล้ว ไม่เกี่ยวกับวิธีที่ใช้รักษา สำหรับผู้ที่มีบุตรยากเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว การทำเด็กหลอดแก้วหรือ IVF กลับเป็น วิธีที่ช่วยลดความเสี่ยงได้ เมื่อเทียบกับการปฏิสนธิแบบธรรมชาติของผู้มีบุตรยาก”

เด็กหลอดแก้ว

ศาสตราจารย์ Michael Davies หัวหน้าทีมวิจัยแห่ง University of Adelaide กล่าวว่า “การศึกษาวิธีการรักษาผู้มีบุตรยากในรูปแบบอื่น ๆ ที่ใช้กันในปัจจุบันนี้มีความจำเป็นอย่างมาก เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีไหนที่เพิ่มความเสี่ยงดังที่กล่าวมาบ้าง”

อ่านต่อหน้าถัดไป >>>

วิธีการรักษาผู้มีบุตรยากประกอบไปด้วยการฉีดน้ำเชื้อเข้าสู่โพรงมดลูก การทำอิ๊กซี่ การปฏิสนธินอกร่างกาย การกระตุ้นให้ไข่ตก และการแช่แข็งตัวอ่อน

ส่วนศาสตราจารย์ Alison Murdoch ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาผู้มีบุตรยากแห่ง Newcastle University กล่าวว่า “ความเสี่ยงนั้นมีน้อยมาก เพราะ หลังจากตั้งครรภ์เองตามธรรมชาติได้ 20 สัปดาห์ โอกาสรอดของทารก มีมากถึงร้อยละ 99.5 เมื่อคลอดออกมาแล้ว ทารกมีโอกาสรอดถึงร้อยละ 98.9 เลยทีเดียว”

เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง

เธอให้สัมภาษณ์เพิ่มเติมว่า “ข้อมูลต่าง ๆ ควรนำมาวิเคราะห์ให้มากขึ้น ก่อนที่จะสามารถหาข้อสรุป ไม่แน่ อาจจะได้ข้อสรุปใหม่ หรือคำแนะนำใหม่ แก่ผู้ที่มีบุตรยากก็เป็นได้”

ด้าน Sheena Lewis ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาผู้มีบุตรยากแห่ง Queen's University ของประเทศไอร์แลนด์กล่าวเพิ่มเติมว่า “เป็นเรื่องปกติที่ผลของการตั้งครรภ์ของผู้มีบุตรยากที่จู่ ๆ เกิดตั้งครรภ์หลังจากพยายามมีลูกมานาน นี่ก็พอจะชี้ได้ว่า เกิดจากความผิดปกติของผู้ที่มีบุตรยากไม่ใช่วิธีรักษาผู้มีบุตรยาก”

ผลการวิจัยนี้ตีพิมพ์ในนิตยสารออนไลน์ Public Library of Science ONE

เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง

 

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพ และสังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัว ไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้ และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
ผิวแตกลาย เกิดจากอะไร? พร้อมแนะนำเคล็ดลับดูแลผิวสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์และหลังคลอดควรรู้
ผิวแตกลาย เกิดจากอะไร? พร้อมแนะนำเคล็ดลับดูแลผิวสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์และหลังคลอดควรรู้
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย

ศูนย์เด็กหลอดแก้ว ใช้สเปิร์มผิดอาจทำหญิงท้องนับสิบ มีลูกกับคนที่ไม่ใช่สามี

ผลการวิจัยพบ “เชื้อชาติ” มีผลต่อความสำเร็จในการทำเด็กหลอดแก้ว

หลังจากที่ แท้งจากที่แท้ง แล้วคุณควรจะทำอย่างไรต่อไปดี ทำให้ตัวเองลุกขึ้นได้ง

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Angoon

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • เด็กหลอดแก้วเสี่ยงแท้ง เด็กไม่สมบูรณ์ และทารกเสียชีวิตใน 28 วัน
แชร์ :
  • ทำเด็กหลอดแก้ว ทางเลือกผู้มีบุตรยากให้มีบุตรได้สมใจ !

    ทำเด็กหลอดแก้ว ทางเลือกผู้มีบุตรยากให้มีบุตรได้สมใจ !

  • การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ทางเลือกการรักษาภาวะมีลูกยาก

    การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ทางเลือกการรักษาภาวะมีลูกยาก

  • สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

    สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

  • สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

    สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

app info
get app banner
  • ทำเด็กหลอดแก้ว ทางเลือกผู้มีบุตรยากให้มีบุตรได้สมใจ !

    ทำเด็กหลอดแก้ว ทางเลือกผู้มีบุตรยากให้มีบุตรได้สมใจ !

  • การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ทางเลือกการรักษาภาวะมีลูกยาก

    การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ทางเลือกการรักษาภาวะมีลูกยาก

  • สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

    สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

  • สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

    สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ