X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

7 สัญญาณ ทารกขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน

บทความ 5 นาที
7 สัญญาณ ทารกขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน7 สัญญาณ ทารกขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน

ทารกขาดน้ำ อันตราย เงียบที่อาจจะเป็นอันตรายได้ วันนี้มาสังเกต 7 สัญญาณของทารกขาดน้ำ จะมีอะไรบ้าง และมีอะไรน่าสนใจ มาดูไปพร้อมกันเลยค่ะ

ลูกน้อย นั้น ต้องการ การดูแล และ การบำรุงมากมาย รวมถึงการให้น้ำ นม และ อาหาร โดยในช่วงปีแรกของทารกนั้นแหล่งอาการ และ พลังงานหลักมากจากนมแม่ซึ่งทำให้พวกเขาได้รับสารอาหารที่ดีและทำให้ร่างกายแข็งแรงได้ แต่รู้ไหมคะว่าน้ำหนักตัวของลูกนั้นไม่ใช่สิ่งที่วัดความแข็งแรง หรือ วัดว่าได้รับสารอาหารที่มากพอ สัญญาณที่ยังเป็นปัญหา สำหรับทารก นั้นคือ อาการขาดน้ำ วันนี้เรามาดู 5 สัญญาณ ทารกขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน

7 สัญญาณ ทารกขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน

 

1.ปาก และ ผิวหนังแห้งเป็นอาการของทารกขาดน้ำ

หนึ่งในสัญญาณ ที่ชัดเจนที่สุดของ อาการขาดน้ำ คือ ความแห้งกร้านรอบ ๆ ริมฝีปาก และ ใบหน้าของลูกน้อย นอกจากนี้ ผิวหนังพวกเขาอาจจะแตก หรือ ลอกได้ การขาดน้ำยังสามารถทำให้มือ และ เท้าของลูก ร้อน หรือ เย็น กว่าปกติได้ หากเกิดเหตุการณ์นี้ ควรให้นมลูกเพื่อให้รู้สึกสบายใจ

 

2.ลูกน้อยร้องไห้โดยไม่มีน้ำตาออกมาเป็นอาการของทารกขาดน้ำ

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกตอย่างไรมาดูกัน

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกตอย่างไรมาดูกัน

เมื่อลูกน้อยร้องไห้ งอแง อย่างหนัก อยากให้แม่ลองสังเกต ช่วงบริเวณตา ของลูก ๆ หน่อย เพราะหากการร้องไห้โดยไม่มีน้ำตานั้น มักจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายของทารกขาดน้ำ นี่เป็นสัญญาณชัดเจนว่าควรได้รับการ ดูแลด้านโภชนาการ

 

3.ผ้าอ้อมลูกน้อยเปียกน้อยกว่าปกติเป็นอาการของทารกขาดน้ำ

ในช่วงหกเดือนแรก ๆ การเปลี่ยนผ้าอ้อม วันละ 5-6 ครั้งถือว่าเป็นเรื่องปกติ อย่างไรก็ตามหากคุณสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลง และ ความถี่ในการเปลี่ยนผ้าอ้อมน้อยลง นั้นอาจจะเป็นเพราะลูก อาจจะไม่ได้รับสารอาหารที่เพียงพอ ซึ่งไม่ควรเพิกเฉย รวมถึงการเปลี่ยนสีของปัสสาวะด้วย การขาดน้ำสามารถทำให้สีของปัสสาวะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเข้มได้

 

4.ลูกน้อยนอนมากกว่าปกติเป็นอาการของทารกขาดน้ำ

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกตอย่างไร มาดูกัน

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกตอย่างไร มาดูกัน

เหมือนกับร่างกายของผู้ใหญ่ เมื่อทารก ไม่ได้รับสามารถอาหารที่เหมาะสมมาก ๆ พวกเขาจะเหนื่อยมากกว่าปกติ และ รู้สึกล้า ทำให้ต้องนอน และ พักผ่อนมากขึ้น หมั่นตรวจเช็คเวลาการหลับนอนของลูกน้อย หนึ่งในสัญญาณที่ถูกเพิกเฉยบ่อยที่สุด ๆ คือ การเลยเวลานอนที่กำหนดไว้ของลูก

 

5.ลูกน้อยดูหงุดหงิดและวุ่นเป็นอาการของทารกขาดน้ำ

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกต อย่างไร มาดูกัน

7 สัญ ญาณ ทารก ขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกต อย่างไร มาดูกัน

ลูกน้อยที่ขาดน้ำ หรือ หิวตลอดเวลาจะหงุดหงิด จุกจิก และ ร้องไห้ ลองให้นมลูกดูดสิ เพราะอาจจะเป็นการบรรเทาอาการเสียงร้อง รวมถึง ทำให้พวกเขาหงุดหงิดน้อยลงก็เป็นได้

 

6.กระหม่อมยุบหรือบุ๋มลงไปเป็นอาการของทารกขาดน้ำ

หากกระหม่อม ของลูกยังไม่ปิด ให้สังเกตว่ากระหม่อมลูกยุบลงไป หรือบุ๋มลง ไปบ้างหรือไม่ หากมีอาการบุ๋มลงไป นั่นหมายความว่าลูกมีอาการขาดน้ำอย่างรุนแรงแล้ว จึงจำเป็นต้องพาไปหาคุณหมอให้เร็วที่สุดค่ะ

 

บทความจากพันธมิตร
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก

7.ตัวเย็นเป็นอาการของทารกขาดน้ำ

7 สัญ ญาณ ทารก ขาด น้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกต อย่างไร มาดูกัน

7 สัญ ญาณ ทารก ขาด น้ำ ลูกน้อยขาดน้ำ สังเกต อย่างไร มาดูกัน

ตัวลูกเย็น ผิวแห้ง ปากแห้งแตก มือเท้าเย็น ผิว และ ริมฝีปากรวมถึง ปลายมือ ปลายเท้า เริ่มมีการเปลี่ยนสี เวลาดึงผิวของลูกเบา ๆ ผิวไม่มีการคืนตัว นั่นหมายความว่าร่างกายของ ลูกมีอาการขาดน้ำแล้วค่ะ

ที่มา : 1

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ทารกแรกเกิดต้องถูกตัดขา เพราะความประมาทของพยาบาลคนเดียว

ทารก 3 เดือนถึง 2 ปี วัยเสี่ยงโรคลำไส้กลืนกัน ลูกตายได้ ถ้าแม่ไม่สังเกตอาการ จะรักษาไม่ทัน

การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก อาการป่วยทารก อันตราย ที่พ่อแม่ต้องรู้!

เทคนิคเลี้ยงลูกให้ฉลาดตั้งแต่แรกเกิด พ่อแม่ต้องสอนลูกด้วยวิธีเหล่านี้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

bossblink

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • 7 สัญญาณ ทารกขาดน้ำ ลูกน้อยขาดน้ำสังเกตอย่างไรมาดูกัน
แชร์ :
  • แนะนำ 10 ประกันสุขภาพลูกน้อย 2564 ประกันสุขภาพเด็ก แบบไหนดี?

    แนะนำ 10 ประกันสุขภาพลูกน้อย 2564 ประกันสุขภาพเด็ก แบบไหนดี?

  • ภาวะตายคลอด ภาวะใกล้ตัวที่คุณแม่จำนวนมากยังไม่รู้จัก บางคนไม่รู้เลยว่าอันตราย

    ภาวะตายคลอด ภาวะใกล้ตัวที่คุณแม่จำนวนมากยังไม่รู้จัก บางคนไม่รู้เลยว่าอันตราย

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

  • 200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

    200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

app info
get app banner
  • แนะนำ 10 ประกันสุขภาพลูกน้อย 2564 ประกันสุขภาพเด็ก แบบไหนดี?

    แนะนำ 10 ประกันสุขภาพลูกน้อย 2564 ประกันสุขภาพเด็ก แบบไหนดี?

  • ภาวะตายคลอด ภาวะใกล้ตัวที่คุณแม่จำนวนมากยังไม่รู้จัก บางคนไม่รู้เลยว่าอันตราย

    ภาวะตายคลอด ภาวะใกล้ตัวที่คุณแม่จำนวนมากยังไม่รู้จัก บางคนไม่รู้เลยว่าอันตราย

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

  • 200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

    200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ