X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก อาการป่วยทารก อันตราย ที่พ่อแม่ต้องรู้!

บทความ 3 นาที
การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก อาการป่วยทารก อันตราย ที่พ่อแม่ต้องรู้!

เมื่อลูกน้อยวัยทารกมีอาการเจ็บป่วย อาการบางอย่างอาจจะไม่มีอะไรร้ายแรง คุณพ่อคุณแม่จึงสามารถที่จะดูแลและสังเกตอาการของลูกอยู่ที่บ้านได้ แต่ในบางครั้งอาการป่วยที่คิดว่าไม่ได้ร้ายแรงนั้นอาจก่อให้เกิดเกิดอันตรายแก่ลูกน้อยได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

อาการป่วยทารก อันตราย

อาการป่วยทารก อันตราย แบบไหนไม่อันตราย เรามาทำความเข้าใจกับอาการป่วยใน 2 ระบบของร่างกายที่พบบ่อยของลูกน้อยวัยทารก ซึ่งได้แก่อาการป่วยในระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร ว่ามีอาการแบบใดที่เราสามารถดูแลอยู่ที่บ้านได้ มีข้อควรปฏิบัติ และข้อควรระวังอย่างไรบ้าง กันนะคะ

การดูแลอาการป่ว ยที่พบบ่อยในทารก

การดูแลอาการป่วยที่ พบบ่อยในทารก

การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก อาการป่วยทารก อันตราย ที่พ่อแม่ต้องรู้! การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก อาการป่วยทารก อันตราย ที่พ่อแม่ต้องรู้! การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก อาการป่วยทารก อันตราย ที่พ่อแม่ต้องรู้!

การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก

อาการป่วยในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ มีน้ำมูก คัดจมูก ไอ จาม

หากลูกมีอาการเหล่านี้ โดยมีไข้ต่ำ ๆ หรือไม่มีไข้ มักเกิดจากการติดเชื้อไวรัส ที่เรียกว่าไข้หวัดธรรมดา ซึ่งโดยทั่วไปสามารถหายเองได้ภายในระยะเวลาไม่เกิน 5 ถึง 7 วัน

 

ข้อควรปฏิบัติ วิธีดูแลลูกในวัยทารก เมื่อเป็นไข้หวัด :

  • ล้างจมูก ดูดน้ำมูก ให้ลูก
  • ใช้ยาหยด ลดจมูกบวม
  • ทานยาแก้ไอชนิดที่ทารกทานได้ ตามอาการ
  • เช็ดตัวลดไข้ และทานยาลดไข้ ตามอาการ

 

อาการป่วยทารก ควรรีบพบคุณหมอเมื่อ :

  • ไข้สูง โดยเฉพาะ มากกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
  • ซึม
  • ทานข้าว ดื่มน้ำ ไม่ได้
  • ไอมาก
  • หายใจเหนื่อย หอบ
  • มีอาการนานกว่า 7 วัน หรืออาการแย่ลง ภายใน 5 วัน

 

***ข้อควรระวัง สิ่งที่แม่ไม่ควรทำเมื่อลูกป่วยเป็นไข้หวัด :

  1. ไม่ควรซื้อยาปฏิชีวนะมาทานเอง
  2. หากลูกมีอาการไข้ ไอ ร่วมกับหายใจหอบเหนื่อย อาจเกิดจากปอดอักเสบติดเชื้อ ควรรีบไปพบคุณหมอทันที

 

อาการป่วยในระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อาเจียน ท้องเสีย

หากลูกมีอาการเหล่านี้ โดยไม่มีไข้หรือมีไข้ต่ำ ๆ มักเกิดจากอาหารเป็นพิษ หรือติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งสามารถดูแลเบื้องต้น ที่บ้านได้

 

ข้อควรปฏิบัติ วิธีดูแลลูกในวัยทารก เมื่ออาเจียน ท้องเสีย :

  • ให้ทานนมแม่เยอะ ๆ ชดเชยการสูญเสียน้ำ
  • ทานน้ำเกลือแร่ สำหรับทารก
  • ทานยาแก้อาเจียน ตามอาการ
  • เช็ดตัวลดไข้ และทานยาลดไข้ ตามอาการ
  • หากลูกอายุเกิน 6 เดือน ควรให้ทานอาหารอ่อน เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก

 

อาการป่วยทารก อันตราย ควรรีบพบคุณหมอเมื่อ :

  • มีอาการขาดน้ำ ได้แก่ ตาลึกโหล ปากแห้ง ร้องไห้ไม่มีน้ำตา ไม่ค่อยปัสสาวะ (ผ้าอ้อมไม่เปียกเลย ใน 6-8 ชั่วโมง)
  • ซึม
  • อาเจียน หรือ ถ่ายอุจจาระ มีเลือดปน
  • กระสับกระส่ายผิดปกติ
  • มีอาการชัก
  • ทานน้ำและอาหาร ได้น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของปกติก่อนป่วย

 

***ข้อควรระวัง สิ่งที่แม่ไม่ควรทำเมื่อลูกอาเจียน ท้องเสีย :

  1. ไม่ควรให้ลูกทานยาหยุดถ่าย หรือยาลดการบีบตัวของลำไส้ เพื่อให้ร่างกายได้กำจัดเชื้อโรคออกไปทางอุจจาระ
  2. หากมีอาการยืดเยื้อ นานกว่า 7 วัน หรืออาการแย่ลง ควรไปพบคุณหมอ เพื่อหาสาเหตุ
  3. ทารกอายุน้อยกว่า 6 เดือน จะมีโอกาสติดเชื้อรุนแรง และขาดน้ำได้ง่าย จึงควรไปพบคุณหมอโดยเร็วหากมีอาการอาเจียน หรือถ่ายเหลวปริมาณมาก หลายครั้งติดต่อกัน แม้จะมีอาการเพียงไม่กี่วันก็ตาม

 

ลูกน้อยวัยทารกที่มีอาการป่วยควรจะได้รับการดูแลที่ใกล้ชิดจากคุณพ่อคุณแม่ตลอดระยะเวลาการป่วย หากมีอาการใดที่ผิดปกติ และไม่แน่ใจ ก็ควรรีบไปพบคุณหมอโดยเร็วนะคะ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

หยอดวัคซีนโรต้าแล้ว ทำไมลูกยังท้องเสียจากไวรัสโรต้าอีก

แพ็กเกจวัคซีนเด็ก 2561 ราคาวัคซีนเหมาจ่าย ของโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพฯ

เมื่อลูกติดเริมจากพ่อ ใครจะคิด โรคนี้แค่จูบ ลูกก็ป่วยรุนแรงได้นะ

ทารกน้อยหายใจเสียงดัง มีน้ำมูก จากภาวะ nasal snuffles ลูกป่วยหนักหรือเปล่า

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • แม่ผ่าคลอด
  • /
  • การดูแลอาการป่วยที่พบบ่อยในทารก อาการป่วยทารก อันตราย ที่พ่อแม่ต้องรู้!
แชร์ :
  • โฉมใหม่ S-26 GOLD PRO-C3 สูตรที่พัฒนากว่าสูตรเดิมไปอีกขั้น* ผสมแอลฟา สฟิงโกไมอีลิน และบี แล็กทิส สิ่งดีๆ ที่คุณแม่เลือก
    บทความจากพันธมิตร

    โฉมใหม่ S-26 GOLD PRO-C3 สูตรที่พัฒนากว่าสูตรเดิมไปอีกขั้น* ผสมแอลฟา สฟิงโกไมอีลิน และบี แล็กทิส สิ่งดีๆ ที่คุณแม่เลือก

  • หมดกังวลเรื่องพัฒนาการของเด็กผ่าคลอด ด้วย 2 สิ่งสำคัญที่แม่ผ่าคลอดต้องรู้
    บทความจากพันธมิตร

    หมดกังวลเรื่องพัฒนาการของเด็กผ่าคลอด ด้วย 2 สิ่งสำคัญที่แม่ผ่าคลอดต้องรู้

  • แม่ผ่าคลอดพร้อมมั้ย? เตรียมให้พร้อมตั้งแต่วันแรก ด้วยการสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอดพร้อมส่งเสริมภูมิคุ้มกัน
    บทความจากพันธมิตร

    แม่ผ่าคลอดพร้อมมั้ย? เตรียมให้พร้อมตั้งแต่วันแรก ด้วยการสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอดพร้อมส่งเสริมภูมิคุ้มกัน

  • โฉมใหม่ S-26 GOLD PRO-C3 สูตรที่พัฒนากว่าสูตรเดิมไปอีกขั้น* ผสมแอลฟา สฟิงโกไมอีลิน และบี แล็กทิส สิ่งดีๆ ที่คุณแม่เลือก
    บทความจากพันธมิตร

    โฉมใหม่ S-26 GOLD PRO-C3 สูตรที่พัฒนากว่าสูตรเดิมไปอีกขั้น* ผสมแอลฟา สฟิงโกไมอีลิน และบี แล็กทิส สิ่งดีๆ ที่คุณแม่เลือก

  • หมดกังวลเรื่องพัฒนาการของเด็กผ่าคลอด ด้วย 2 สิ่งสำคัญที่แม่ผ่าคลอดต้องรู้
    บทความจากพันธมิตร

    หมดกังวลเรื่องพัฒนาการของเด็กผ่าคลอด ด้วย 2 สิ่งสำคัญที่แม่ผ่าคลอดต้องรู้

  • แม่ผ่าคลอดพร้อมมั้ย? เตรียมให้พร้อมตั้งแต่วันแรก ด้วยการสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอดพร้อมส่งเสริมภูมิคุ้มกัน
    บทความจากพันธมิตร

    แม่ผ่าคลอดพร้อมมั้ย? เตรียมให้พร้อมตั้งแต่วันแรก ด้วยการสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอดพร้อมส่งเสริมภูมิคุ้มกัน

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว