X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เตือนภัยคุณผู้หญิง ใช้รังสีรักษา มะเร็งเต้านม อันตรายเสี่ยงโรคหัวใจ

บทความ 5 นาที
เตือนภัยคุณผู้หญิง ใช้รังสีรักษา มะเร็งเต้านม อันตรายเสี่ยงโรคหัวใจ

งานวิจัยล่าสุดเผยผู้หญิงที่รักษา มะเร็งเต้านม โดยวิธีฉายแสงเสี่ยงจะเป็นโรคหัวใจสูง แม้จะได้รับรังสีในปริมาณน้อย

เตือนภัยคุณผู้หญิง ใช้รังสีรักษา มะเร็งเต้านม อันตรายเสี่ยงโรคหัวใจ

การตรวจหามะเร็งเต้านม

เตือนภัยคุณผู้หญิงที่ใช้รังสีรักษา มะเร็งเต้านม อันตรายเสี่ยงโรคหัวใจ

ผลวิจัยทางการแพทย์พบว่าคนไข้มีโอกาสเป็นโรคหัวใจหลังได้รับการฉายรังสีแล้วห้าปี ต่อเนื่องไปอีกหลายสิบปี ทั้งนี้ทั้งนั้น คนไข้ไม่ควรตื่นตระหนก เพราะการฉายรังสีได้ช่วยชีวิตผู้ป่วยมะเร็งไว้มากมาย และนั่นคือสิ่งที่สำคัญที่สุด

โอกาสที่คุณจะเป็นโรคหัวใจจากรังสีที่ว่านี้มีค่อนข้างน้อย ตัวอย่างเช่น ในผู้หญิง 100 คนที่มีอายุมากกว่า 50 ปี และไม่มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจ จะมีเพียง 4-5 คนที่จะมีอาการโรคหัวใจ เมื่ออายุ 80 ปี การรักษาด้วยการฉายรังสีจะทำให้ตัวเลขเพิ่มขึ้นหนึ่งคนเท่านั้น

รังสีรักษา

รังสี รักษา

เราสามารถลดความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจได้ด้วยตัวเอง โดยการควบคุมน้ำหนัก ระดับคอเลสเตอรอล และความดันให้อยู่ในเกณฑ์ อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่ารังสีนั้นอาจมีอันตรายรุนแรงกว่าที่ผู้เชี่ยวชาญคาด โดยเฉพาะในผู้หญิงที่เสี่ยงเป็นโรคหัวใจอยู่แล้วจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น เบาหวาน

ข้อมูลล่าสุดนี้ทำให้หลายฝ่ายเริ่มตระหนักถึงการรักษาเกินความจำเป็น ผู้หญิงหลายคนเข้ารับการรักษา มะเร็งเต้านม ที่ไม่ได้เป็นอันตรายถึงชีวิต แต่กลับต้องเสี่ยงเจอปัญหาร้ายแรงอื่น ๆ ในภายหลัง เช่นโรคหัวใจ

ยาเคมีบำบัดบางตัวเป็นอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ ผลการวิจัยนี้ยังชี้ว่ารังสีอาจทำให้หลอดเลือดแดงแข็งตัว อุดตัน และอาจนำไปสู่ภาวะหัวใจล้มเหลว ผู้หญิงที่รับการรักษาทั้งสองวิธีเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจทั้งสองแบบ

กว่า 40 ปี ที่ผ่านมา การตรวจเจอมะเร็งในเด็กๆ นั้นทำได้ช้าเกินไป เนื่องจากคุณพ่อคุณแม่หรือแม้แต่กระทั่งแพทย์ ก็ไม่คาดคิดต่อการเกิดมะเร็งในร่างกายของเด็กๆ ค่ะ ทั้งนี้ปัจจัยที่ทำให้การวินิจฉัยและการตรวจผิดพลาด คลาดเคลื่อน เนื่องจากอาการที่บ่งบอกว่าลูกของเราเป็นมะเร็งไม่ชัดเจน และแตกต่างกันไปในแต่ละคนทำให้กว่าจะวินิจฉัยได้และตรวจเจอว่าเป็นโรคมะเร็งก็อาจจะช้าเกินไปแล้ว

เด็กคือเด็ก ไม่ใช่ผู้ใหญ่ตัวเล็ก

รังสีรักษา

รังสีรัก ษา

อาการที่บ่งบอกว่าลูกของคุณพ่อคุณแม่เป็นมะเร็ง จึงไม่เหมือนอาการที่ผู้ใหญ่เป็นมะเร็งค่ะ ซึ่งการป้องกันไม่ให้ลูกเป็นมะเร็งก็ทำได้ยาก เพราะสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรคก็ยังหาสาเหตุไม่ได้ เพียงแค่มีปัจจัยเสี่ยงอย่างเช่น ข้อบกพร่องทางพันธุกรรม การติดเชื้อไวรัส ที่อาจจะเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง นอกจากนี้การรักษายังมีขั้นตอนที่มากกว่าและต้องรักษานานกว่าด้วยนะคะ

11 สัญญาณเสี่ยง ลูกอาจเป็นมะเร็ง

รังสีรักษา

รัง สีรักษา

หากลูกมีอาการเหล่านี้เพียง 1 อาการ หรือมากกว่านั้น ควรพาไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงค่ะ ลองเกริ่นกับคุณหมอถึงโรคมะเร็งด้วย แต่หากยังหาสาเหตุไม่เจอ การหาคุณหมอมากกว่า 1 ท่าน ก็เป็นเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ต้องลองพิจารณาดูค่ะ

  1. น้ำหนักลดลงเรื่อยๆ โดยไม่มีสาเหตุ
  2. เจ็บปวดบริเวณกระดูกและข้อต่อต่างๆ ขณะที่เคลื่อนไหว เล่นเกมส์ หรือทำกิจกรรม
  3. ปวดหัวและอาเจียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตอนเช้า
  4. คลำพบก้อนเนื้อ บริเวณลำคอ รักแร้ ขาหนีบ และหน้าท้อง
  5. พุงป่อง หน้าท้องขยาย
  6. มีจุดสีแดงเล็กๆ (Petechia) ที่บ่งบอกว่ามีเลือดออกจากเส้นเลือดและเส้นเลือดฝอย
  7. มีจุดหรือบริเวณสีม่วงตามผิวหนัง (Hematoma)
  8. บริเวณจอม่านตามีสีขาว เมื่อแสงมากระทบ
  9. มีอาการเหน็ดเหนื่อย เมื่อยล้า และมีภาวะซีดเรื้อรัง (โรคโลหิตจาง)
  10. ไข้ขึ้นอย่างไม่มีสาเหตุเป็นระยะเวลานาน
  11. ติดเชื้อบ่อย จะทำให้ภูมิคุ้มกันร่างกายลดลง

8 โรคมะเร็งในเด็กที่พบได้บ่อย

รังสีรักษา

รังสีรักษา

1.มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)

เซลล์มะเร็งจะทำร้ายระบบน้ำเหลืองที่มีอยู่ทั่วร่างกาย อวัยวะทุกอวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆ

2.มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia)

เซลล์มะเร็งที่มีผลต่อเซลล์เม็ดเลือดขาว จะส่งผลต่อไขกระดูก มะเร็งชนิดนี้มีอัตราเกิดสูงถึง 30% เป็นมะเร็งที่พบได้เป็นอันดับ 1

บทความจากพันธมิตร
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด

3.เนื้องอกในระบบประสาทส่วนกลาง (CNS tumor)

หากร่างกายมีเนื้องอกในระบบประสาทส่วนกลาง จะทำให้ไปขัดขวางการไหลของของเหลวในสมอง ทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น ทำให้ปวดหัวและอาเจียนค่ะ เป็นมะเร็งที่พบได้เป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งเม็ดเลือดขาวค่ะ

4.มะเร็งต่อมหมวกไต (Neuroblastoma)

พบได้บ่อยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี ส่งผลต่อระบบประสาท สังเกตอาการได้จากการคลำเจอก้อนในช่องท้อง คอ กระดูกเชิงกราน

5.มะเร็งไต (Wilms tumor)

พบได้บ่อยในเด็กที่มีอายุระหว่าง 2-4 ปี

6.มะเร็งจอตา (Retinoblastoma)

หากเด็กเป็นแต่ไม่พาไปตรวจไม่ได้รักษะอาจจะเสียชีวิตได้ค่ะ

7.มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)

พบได้ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี บริเวณที่พบได้มากคือ อาการปวดรอบๆ หัวเข่า และอาจจะแพร่กระจายไปยังปอดได้ด้วยค่ะ

8.มะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน (Soft tissue sarcoma)

มะเร็งชนิดนี้ส่วนใหญ่รักษาหายได้ถึง 70%

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และในเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการของทารก ตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

ที่มา: ไทม์

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ : 

10 อาหาร ที่ไม่ควรอุ่น ในไมโครเวฟ อุ่นแล้วกลายเป็น สารก่อมะเร็ง

คนท้องเป็นไวรัสตับอักเสบบี ถ่ายทอดจากแม่ท้องสู่ทารก ท้อง เป็นไวรัสตับอักเสบบี ลูกเสี่ยงมะเร็งตับ

มะเร็ง ภัยร้ายที่มากับ เนื้อ นม ไข่ ความจริงที่แม่ไม่เคยรู้!!

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • เตือนภัยคุณผู้หญิง ใช้รังสีรักษา มะเร็งเต้านม อันตรายเสี่ยงโรคหัวใจ
แชร์ :
  • อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

    อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

    อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ