X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกชอบปาข้าวของ ขว้างสิ่งของ ห้ามเท่าไหร่ไม่ฟัง ต้องแก้ยังไงดี

บทความ 3 นาที
ลูกชอบปาข้าวของ ขว้างสิ่งของ ห้ามเท่าไหร่ไม่ฟัง ต้องแก้ยังไงดี

ลูกชอบปาข้าวของ โยนของลงพื้น ปาของใส่คนอื่น พฤติกรรมไม่ดีที่พ่อแม่ควรหยุด ถ้าบอกแล้วลูกไม่ยอมหยุด ไม่ยอมฟัง พ่อแม่ต้องสอนลูกด้วยวิธีการเหล่านี้!

ลูกชอบปาข้าวของ ขว้างสิ่งของ ห้ามเท่าไหร่ไม่ฟัง ต้องแก้ยังไงดี

ลูกชอบปาข้าวของ ต้องแก้ยังไง ลูกเราปกติไหม? ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่า เด็กที่มีอายุระหว่าง 2-4 ขวบ กำลังอยู่ในวัยที่ชอบแสดงความสามารถและแสดงความเป็นตัว (Stage of Autonomy ) ชอบลองว่าตนเองสามารถทำอะไรได้บ้าง เช่น เดิน วิ่ง ซึ่งเป็นวัยที่กำลังซุกซน พ่อแม่ห้ามเท่าไหร่ก็ไม่ฟัง เหมือนยิ่งยุให้ลูกทำหนักขึ้นมากกว่าเดิมซะมากกว่า

ทำไมลูกถึงชอบโยนข้าวของ?

จริงๆ แล้วการโยน ปา ขว้างข้าวของ เป็นทักษะที่เด็กวัยนี้เริ่มทำได้ เนื่องจากเด็กอยู่ในวัยที่อยากรู้อยากลอง และกำลังรู้สึกสนุกว่าสิ่งของที่อยู่ในมือจะขว้างไปได้ไกลแค่ไหน และจะเกิดอะไรขึ้น? ถ้าพ่อแม่สังเกตจะเห็นว่าเด็กบางคนพอปาของเสร็จแล้ว กลับยิ้มแล้วก็หัวเราะเวลาที่พ่อแม่ดุด้วยซ้ำ บางคนไม่ใช่แค่ปาลงพื้นแต่กลับปาใส่พี่ น้อง หรือแม้แต่พ่อแม่ตัวเองซะอีก

ลูกชอบปาข้าวของ

ลูกชอบโยนของ

ลูกชอบปาข้าวของต้องแก้ยังไง?

พอคุณแม่ตามเก็บและบ่นลูกด้วยปากเฉยๆ ลูกก็จะทำต่อไปเรื่อยๆ และอาจทำให้หนักข้อขึ้นไปทุกที เนื่องจากเห็นว่าเป็นเรื่องสนุก ดังนั้นพ่อแม่จะต้องสอนลูกให้รู้ว่าสิ่งนี้ไม่ควรทำนะ โดยทุกครั้งที่พ่อแม่เห็นลูกเริ่มทำท่าจะปาสิ่งของ คุณต้องรีบไปจับมือลูกข้างที่จะปาไว้ทันทีแล้วพูดกับเด็กด้วยสีหน้าและน้ำเสียงจริงจัง โดยพูดประมาณว่า “ลูกปาแก้วไม่ได้ครับ” อย่าดุ อย่าตีหรือห้ามพูดว่า “ไม่ให้” แต่ใช้วิธีการบอกลูกให้รู้ว่าพ่อแม่ไม่ชอบและไม่อยากให้ทำพฤติกรรมนี้ออกมาจะดีกว่า

ถ้าลูกปาของไปแล้วห้ามไม่ทันจริงๆ พ่อแม่ก็ไม่ควรสั่งให้ลูกเก็บของแต่ปาก แต่ควรไปจูงมือลูกให้เดินเก็บของที่ปาเมื่อกี้นี้ด้วยกัน แล้วต้องคอยชมเมื่อลูกสามารถเก็บของได้เข้าที่ โดยที่พ่อแม่ต้องทำพฤติกรรมแบบนี้ซ้ำๆ จนกว่าลูกจะรู้เรื่องว่าถ้าปาสิ่งของต้องเก็บของให้เข้าที่น่ะ พอลูกเกิดความเคยชินก้จะทำตามเองอัตโนมัติ

หากของที่ลูกปาเกิดความเสียหาย แตกกระจายไปหมด พ่อแม่ก็ต้องเตือนลูกบอกถึงความอันตราย หากลูกเผลอไปเยียบเศษเล็กๆ พวกนี้ และต้องทำให้ลูกรู้ว่าคุณไม่ได้รับสิ่งของมากกว่าลูก โดยการโมโหรุนแรงหัวฟัดหัวเหวี่ยงเมื่อลูกทำของพังโดยไม่ตั้งใจ เพราะอาจทำให้ลูกฝังใจกับภาพความน่ากลัวของพ่อแม่ บางคนมีพฤติกรรมก้าวร้าว ขี้โมโห จากการมีพ่อแม่เป็นต้นแบบ  แต่ควรจะสอนเขาอย่างเป็นมิตรนั่นคือสิ่งที่ควรทำมากกว่า

ดังนั้น ถ้าเห็นว่าลูกเริ่มยกมือขึ้นเตรียมจะขว้างของ อย่าลืมรีบเขาไปจับมือลูกและบอกลูกดีๆ หากห้ามไม่ทันก็จูงมือลูกไปเก็บให้เข้าที่ อย่าเอาตัวหัวเราะชอบใจถ้าเห็นลูกปาของใส่พื้นหรือคนอื่น และไม่ควรโมโหเกรี้ยวกราดใส่ลูกที่ทำของเสียหาย เนื่องจากลูกอาจจะตกใจกลัว ร้องไห้หนัก และยังทำให้เกิดพฤติกรรมแบบนี้ในระยะยาวซ้ำๆ อีก

 

ที่มา: คลีนิกเด็กหมอสังคม, ชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

พฤติกรรมเด็กแรกเกิด-3 ปี หนูทำแบบนี้ แม่ต้องรับมือแบบไหน

ตีลูกดีไหม ลงโทษลูกอย่างไร ให้ลูกได้บทเรียน แต่แม่ไม่ปวดใจ

ดื้อต่อต้าน โรคพฤติกรรมดื้อต่อต้าน หากลูกเกิน 3 ขวบแล้วยังเป็นอย่างนี้ ใช่เลย!

บทความจากพันธมิตร
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกชอบปาข้าวของ ขว้างสิ่งของ ห้ามเท่าไหร่ไม่ฟัง ต้องแก้ยังไงดี
แชร์ :
  • 5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

    5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

  • สัญญาณเตือนออทิสติก มีอะไรบ้าง สังเกตได้จากเพลงกล่อมเด็กจริงไหม?

    สัญญาณเตือนออทิสติก มีอะไรบ้าง สังเกตได้จากเพลงกล่อมเด็กจริงไหม?

  • เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

    เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

  • 5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

    5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

  • สัญญาณเตือนออทิสติก มีอะไรบ้าง สังเกตได้จากเพลงกล่อมเด็กจริงไหม?

    สัญญาณเตือนออทิสติก มีอะไรบ้าง สังเกตได้จากเพลงกล่อมเด็กจริงไหม?

  • เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

    เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ