X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

9 ข้อบ่งชี้ของทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง

บทความ 3 นาที
9 ข้อบ่งชี้ของทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง

ทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง คือทารกแรกเกิดที่มีโอกาสสูงต่อการเจ็บป่วย พิการ หรือเสียชีวิต และในช่วงที่ถือว่าทารกอยู่ในภาวะเสี่ยงคือ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด จนถึงอายุ 28 วัน

ทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง อาจเป็นทารกที่เกิดครบกำหนด ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อย หรือทารกที่เกิดก่อนกำหนดก็ได้ โดยทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงอาจมีปัจจัยที่เกิดจากแม่ก่อนตั้งครรภ์ ในขณะตั้งครรภ์ หรือขณะคลอด รวมถึงปัจจัยจากทารกที่อยู่ในครรภ์และภายหลังคลอดด้วยเช่นกัน

9 ข้อบ่งชี้ของทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง

ทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง

ปัจจัยจากแม่

  1. เกิดจากแม่ที่มีอายุน้อยหรือมากเกินไป
  2. ครอบครัวมีฐานะทางเศรษฐกิจค่อนข้างต่ำ
  3. แม่มีโรคเจ็บป่วยเรื้อรังในขณะตั้งครรภ์ เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ฯลฯ
  4. มีความผิดปกติของรก เช่น รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด ฯลฯ
  5. การคลอดผิดปกติ เช่น น้ำเดินเกิน 24 ชั่วโมง ขณะคลอดลำบาก หรือคลอดนาน เป็นต้น

ปัจจัยจากทารก

  1. ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักหรืออายุครรภ์น้อยกว่าปกติ
  2. ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักหรืออายุครรภ์มากกว่าปกติ
  3. มีความพิการแต่กำเนิด
  4. มีภาวะเจ็บป่วย

ทั้งนี้ทารกแรกเกิดแต่ละประเภทจะมีลักษณะ  ปัญหา หรือภาวะแทรกซ้อนที่แตกต่างกัน ซึ่งหากทารกแรกเกิดมีภาวะเสี่ยงดังกล่าวควรให้ลูกน้อยได้รับการดูแลจากแพทย์และพยาบาลอย่างใกล้ชิด โดยก่อนคุณแม่พาลูกน้อยกลับไปดูแลต่อที่บ้าน พยาบาลจะให้ความรู้ในการให้การพยาบาลทารกแรกเกิด ตลอดจนคำคำแนะนำเพื่อให้คุณแม่ดูแลทารกอย่างต่อเนื่องที่บ้านได้

Advertisement

ข้อมูลอ้างอิงจาก : กลุ่มวิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์  คณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บทความอื่นที่น่าสนใจ :

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

5 สัญญาณเตือนคลอดก่อนกำหนดที่ต้องระวัง!!
ภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ที่แม่ท้องไม่ควรมองข้าม

parenttown

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • 9 ข้อบ่งชี้ของทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง
แชร์ :
  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว