X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เด็กอ้วนเสี่ยงความจำไม่ดี เรียนไม่เก่ง

บทความ 3 นาที
เด็กอ้วนเสี่ยงความจำไม่ดี เรียนไม่เก่ง

งานวิจัยเผย ความอ้วนอาจส่งผลเสียต่อสมองของลูก ทำให้ลูกความจำแย่ ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อการเรียนหรือการงานในอนาคตได้

ในยุคที่เด็กชอบนั่งกดแท็บเล็ตหรือมือถือมากกว่าออกไปวิ่งเล่นข้างนอก ไม่แปลกเลยที่เด็ก ๆ มีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนมากกว่าเดิม

อย่างที่เรารู้กันดี โรคอ้วนส่งผลเสียหลายอย่าง เช่น หัวใจมีปัญหา เครียด ไม่มีแรง ทำงานไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร

งานวิจัยล่าสุดจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ชี้ว่า ผลกระทบอีกอย่างจากโรคอ้วน คือ ความจำแย่ ขี้ลืม

ทีมนักวิจัยให้กลุ่มตัวอย่างวัย 18-35 ปี จำนวน 50 คน มาเล่นเกม ‘ล่าสมบัติ’ เพื่อทดสอบความจำ โดยผู้เข้าร่วมต้องเอาของต่าง ๆ ไปซ่อนในฉาก (เช่น ทะเลทรายที่มีต้นปาล์มหลายต้น) หลังจากนั้น 2 วัน ให้ผู้เข้าร่วมกลับมาตอบว่า เอาของอะไร ไปซ่อนที่ไหน และซ่อนไว้ตั้งแต่เมื่อไหร่

ผลปรากฏว่า…

คนที่มีค่าดัชนีมวลกายยิ่งสูง ยิ่งทำแบบทดสอบความจำได้แย่!

(ดัชนีมวลกายระหว่าง 18-25 = สุขภาพดี, 25-30 = น้ำหนักเกิน, มากกว่า  30 = เป็นโรคอ้วน)

ทั้งนี้อาจเป็นเพราะความอ้วนทำให้สมองส่วนฮิปโปแคมปัส (ควบคุมความจำและการเรียนรู้) และสมองกลีบหน้า (ควบคุมการตัดสินใจและแก้ปัญหา) ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้คนอ้วนความจำไม่ดี ลืมง่าย ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อการเรียนหรือการงานได้

อ่านเพิ่มเติม ไขมันในเลือดสูงในเด็กอ้วน อันตรายที่พ่อแม่อย่ามองข้าม

เด็กอ้วน ความจำไม่ดี

วิธีป้องกันลูกน้ำหนักเกิน

Advertisement

#1 ทยอยกินทีละน้อย

แบ่งอาหารให้ลูกกินมื้อละนิดหน่อย แต่กินบ่อยทุก 2-3 ชั่วโมง จะทำให้ร่างกายลูกเผาผลาญได้เร็ว มีสุขภาพดี และรู้สึกสดชื่นกระปรี้กระเปร่าทั้งวันเพราะมีอาหารรองท้องตลอดเวลา

#2 กำหนดวันวิ่งเล่นกับเพื่อน

การเล่นข้างนอกกับเพื่อนเป็นเรื่องสำคัญต่อการเติบโตทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม พ่อแม่ควรกำหนดวันให้ลูกได้ออกไปวิ่งเล่นกับเพื่อน ๆ เป็นประจำ เพื่อให้ลูกร่างกายแข็งแรง และไม่ติดนิสัยนอนขี้เกียจอยู่ในบ้าน

#3 ลดอาหารขยะ

อาหารไขมันสูงพวกพิซซ่า เฟรนช์ฟรายด์ จะทำให้ลูกอ้วนเร็วขึ้นถึง 10 เท่า เพราะฉะนั้นควรจำกัดปริมาณการกินอาหารเหล่านี้ เช่น อนุญาตให้ลูกกินตามใจปากได้แค่อาทิตย์ละ 2 วัน ส่วนอีก 5 วันที่เหลือ ลูกต้องกินอาหารที่มีประโยชน์เท่านั้น

ถึงเด็กจ้ำม่ำจะน่ารัก แต่ถ้าอ้วนเกินไปจะส่งผลเสียต่อร่างกายได้ค่ะ รู้อย่างนี้แล้วอย่าลืมแชร์บอกคนอื่น ๆ นะคะ

 

ที่มา : theindusparent.com

บทความอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง :

หยุดคิด!!! ก่อนซื้อน้ำอัดลมให้ลูกดื่ม

มาตุนอาหารต้านมะเร็งสำหรับเด็ก 15 ชนิดนี้กันเถอะ

 

บทความจากพันธมิตร
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

ขวัญชนก ธนาภิกรกุล

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • เด็กอ้วนเสี่ยงความจำไม่ดี เรียนไม่เก่ง
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว