X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

พาราเบน สารอันตรายใกล้ตัวแม่ท้องและเบบี๋

บทความ 3 นาที
พาราเบน สารอันตรายใกล้ตัวแม่ท้องและเบบี๋

สารพาราเบนที่ผสมในเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สำหรับทารก สามารถเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเราทุกคน ทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะคุณแม่ตั้งครรภ์และลูกน้อยวัยเบบี๋ แล้วจะมีวิธีเลือกผลิตภัณฑ์อย่างไรให้ปลอดภัยจากพาราเบน เรามีคำตอบ

พาราเบน คืออะไร?

พาราเบน (Paraben) เป็นสารเคมีที่ใช้เป็นสารกันบูดในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ทั้งเครื่องสำอาง อุปกรณ์อาบน้ำทารก ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกาย แชมพู ครีมนวดผม และผลิตภัณฑ์บำรุงผิวต่างๆ

ทำไมจึงมีการใช้ พาราเบน ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ?

เพราะ พาราเบนมีราคาถูกและมีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราและแบคทีเรียที่จะเป็นอันตรายต่อผู้ที่ใช้ และพาราเบนยังใช้เพื่อยืดอายุผลิตภัณฑ์ให้อยู่ได้นานโดยไม่ต้องแช่เย็นอีกด้วย

จากข้อมูลข้างต้น คุณได้ทราบแล้วว่าพาราเบนมีประโยชน์อย่างไร แต่ในอีกมุมหนึ่ง มีข้อมูลว่า พาราเบน สามารถทำลายฮอร์โมนของร่างกายที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ทั้งเพศชายและเพศหญิง เช่น เอสโตรเจน และ เทสโทสเตอโรน และผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของพาราเบนยังเป็นอันตรายต่อสุขภาพและการตั้งครรภ์มากมาย อาทิ

  • โรคเรื้อรัง
  • โรคมะเร็ง
  • ความผิดปกติของพัฒนาการ
  • ภาวะการมีบุตรยาก
  • การแท้งบุตร
  • คลอดก่อนกำหนด
  • ความพิการแต่กำเนิด
  • สเปิร์มไม่สมบูรณ์
  • โรคอ้วน
  • โรคเกี่ยวกับระบบการเผาผลาญอาหาร
  • ความหนาแน่นของกระดูก

 

พาราเบน สารเคมีอันตรายที่แม่ท้องต้องระวัง!

แม้จะมีข้อถกเถียงในเรื่องความเสี่ยงต่างๆ ข้างต้น แต่พาราเบนก็ได้รับการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุขว่าปลอดภัย เมื่อใส่ในปริมาณที่กำหนดคือไม่เกิน 0.25% เราจึงยังสามารถพบสารพาราเบนได้ในผลิตภัณฑ์ทั่วไปที่เราใช้กันอยู่ทุกวัน

พาราเบน เครื่องสำอาง

อ่านฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนซื้อ เพื่อหลีกเลี่ยงสารพาราเบน

 

Advertisement

จะหลีกเลี่ยง พาราเบน ได้อย่างไร

เนื่องจากยังไม่มีข้อสรุปที่สามารถยืนยันอันตรายจากการสัมผัสสารพาราเบนในปริมาณเล็กน้อยที่ผสมอยู่ในผลิตภัณฑ์ความงามและผลิตภัณฑ์อาบน้ำเด็ก ที่มีขายในท้องตลาดทั่วไป

แต่เราก็ไม่อาจวางใจได้ว่า ส่วนประกอบต่างๆ ที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ดูแลทารกและเครื่องสำอางนั้นนั้นมีความปลอดภัยเพียงพอ เพราะหลักฐานที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอที่จะให้เชื่อได้ว่า พาราเบนในเครื่องสำอางนั้นจะปลอดภัยจริงเช่นกัน

ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น ก่อนซื้อเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สำหรับทารก คุณแม่ควรอ่านฉลากผลิตภัณฑ์และหลีกเลี่ยงอันตรายจากสารพาราเบน หรือมองหาผลิตภัณฑ์ที่ระบุว่า paraben free ย่อมปลอดภัยและสบายใจกว่า โดยคุณแม่สามารถสังเกตบนฉลากผลิตภัณฑ์ หากมีสารพาราเบน จะมีข้อความเหล่านี้ระบุไว้ เช่น

  • Methylparaben
  • Ethylparaben
  • Propylparaben
  • Butylparaben
  • Isobutylparaben
  • Isopropylparaben

ทีนี้ลองสำรวจผลิตภัณฑ์ที่คุณใช้ และสามารถแนะนำผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีพาราเบนเข้ามาได้ที่คอมเม้นต์ด้านล่าง เพื่อเป็นประโยชน์แก่คุณแม่ท่านอื่นๆ ค่ะ

ที่มา sg.theasianparent.com

 

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

ทำไมต้องเลือก ครีมทาท้องลาย ที่ไม่มี พาราเบน

BPA Free ในของใช้เด็กบอกอะไรคุณแม่

สารเคมีในชีวิตประจำวันที่คนท้องควรหลีกเลี่ยง

TAP mobile app

 

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • พาราเบน สารอันตรายใกล้ตัวแม่ท้องและเบบี๋
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว