X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

น้ำหนักแม่น้อยไปไหม? น้ำหนักตั้งครรภ์ควรขึ้นเท่าไหร่ น้ำหนักคนท้องควรขึ้นกี่กิโล

บทความ 3 นาที
น้ำหนักแม่น้อยไปไหม? น้ำหนักตั้งครรภ์ควรขึ้นเท่าไหร่ น้ำหนักคนท้องควรขึ้นกี่กิโล

แม่ท้องกินน้อยกลัวลูกโตช้า กินมากไปก็เสี่ยงเบาหวาน น้ำหนักคนท้อง ต้องขึ้นแค่ไหนถึงจะดีล่ะเนี่ย

น้ำหนักแม่น้อยไปไหม แม่กินมากไปหรือเปล่า? แม่อยากให้ท้องนี้มีคุณภาพ น้ำหนักตั้งครรภ์ ควรขึ้นเท่าไหร่ ท้องน้ำหนักขึ้นเยอะแบบนี้เสี่ยงหรือเปล่า กินแค่ไหนถึงจะลงลูก ให้ลูกแข็งแรงเติบโตสมวัย แม่ไม่อ้วนจนป่วยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

 

น้ำหนักคนท้องควรขึ้นกี่กิโล

รศ.ดร. ปรียา ลีฬหกุล กลุ่มสาขาวิชาโภชนศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุถึงน้ำหนักตั้งครรภ์ควรขึ้นเท่าไหร่ ว่า กินเท่าไรจึงจะพอสำหรับลูก ถ้าน้ำหนักคุณแม่เพิ่มได้ถูกต้องระหว่างตั้งครรภ์ลูกก็จะได้อาหารพอ และควรจะเพิ่มเท่าใด ดูได้จากดัชนีมวลกายของคุณแม่ โดยนำน้ำหนักเป็นกิโลกรัมตั้ง หารด้วยส่วนสูงเป็นเมตรยกกำลังสอง ค่าปกติจะอยู่ที่ 18.5-24.9 กก./ม.2

น้ำหนักคนท้องควรขึ้นกี่กิโล

  • คนท้องที่มีค่า BMI ต่ำกว่า 18.5 กก./ม.2 น้ำหนักแม่ท้องควรเพิ่ม 12-18 กิโลกรัม
  • คนท้องที่มีค่า BMI ระหว่าง 18.5-24.9 กก./ม.2 น้ำหนักแม่ท้องควรเพิ่ม 11-16 กิโลกรัม
  • คนท้องที่มีค่า BMI ระหว่าง 25.0-29.9 กก./ม.2 น้ำหนักแม่ท้องควรเพิ่ม 7-11 กิโลกรัม
  • คนท้องที่มีค่า BMI 30.0 กก./ม.2 หรือมากกว่า น้ำหนักแม่ท้องควรเพิ่ม 5-9 กิโลกรัม

รู้ไหมน้ำหนักตั้งครรภ์ควรขึ้นเท่าไหร่ถึงจะดี

ถ้าก่อนท้องแม่น้ำหนักปกติ ช่วง 3 เดือนแรก กินอาหารที่มีประโยชน์ แต่พลังงานเท่าเดิม น้ำหนักควรเพิ่มขึ้น 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์ ถ้ากินไม่ได้ตามนี้ ให้กินเป็นมื้อเล็ก ๆ มากขึ้น และเน้นคุณภาพ

  • ช่วง 4-6 เดือน เพิ่มพลังงานอีกวันละ 300-350 กิโลแคลอรี/วัน
  • ช่วง 7-9 เดือน เพิ่มพลังงานอีกวันละ 500 กิโลแคลอรี/วัน
  • ถ้าท้องแฝดต้องกินเพิ่มอีก 300 กิโลแคลอรี
Advertisement

ที่มา : https://www.thairath.co.th

 

น้ำหนักตั้งครรภ์ ควรขึ้นเท่าไหร่ น้ำหนักคนท้องควรขึ้นกี่กิโล ท้องน้ำหนักขึ้นเยอะ เสี่ยงอะไรบ้าง น้ำหนักแม่น้อยไปไหม กลัวลูกในท้องโตช้า ขุนมากไปก็เสี่ยง

น้ำหนักตั้งครรภ์ ควรขึ้นเท่าไหร่ น้ำหนักคนท้องควรขึ้นกี่กิโล ท้องน้ำหนักขึ้นเยอะ เสี่ยงอะไร

น้ำหนักตั้งครรภ์ ควรขึ้นเท่าไหร่นั้น สรุปง่าย ๆ ก็คือ ขึ้นอยู่กับน้ำหนักตัวของแม่ท้อง ถ้าแม่ท้องผอม มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ให้เน้นการกินอาหารที่ให้พลังงานเพิ่มขึ้นได้ แต่ถ้าน้ำหนักตัวแม่ท้องมากตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ให้ควบคุมพลังงาน เลือกกินเฉพาะอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

 

คนท้องน้ำหนักขึ้นเยอะ เสี่ยงอะไรบ้าง

  1. แม่ท้องมีความเสี่ยงที่จะแท้งลูก
  2. แม่ท้องมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
  3. แม่ท้องมีความเสี่ยงที่จะเป็นครรภ์เป็นพิษ

นอกจากนี้ แม่ท้องยังคลอดลูกแบบธรรมชาติได้ยาก อาจจำเป็นต้องผ่าคลอด ทั้งยังส่งผลถึงตัวลูก ไปเพิ่มความเสี่ยงการพิการแต่กำเนิดของลูกได้อีกด้วย

 

คนท้องอ้วน ลูกจะอ้วนตามไปด้วย

ถ้าคนท้องอ้วน หรือมีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์ที่กำหนด ก็มีโอกาสที่จะทำให้ลูกในท้องตัวใหญ่ และน้ำหนักตัวมากกว่าเกณฑ์ได้เช่นกัน สำหรับแม่ท้องที่มีน้ำหนักตัวมากมักจะมีปริมาณน้ำตาล และไขมันในเลือดสูง ซึ่งจะส่งผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดของทารกในครรภ์ตามไปด้วย อาจจะส่งผลทำให้ทารกที่อยู่ในครรภ์มีขนาดตัวที่ใหญ่กว่าปกติได้

 

คำถามที่ว่าน้ำหนักตั้งครรภ์ ควรขึ้นเท่าไหร่นั้น อยู่ที่น้ำหนักตัวแม่ท้องก่อนตั้งครรภ์ หากผอมไปก็ต้องบำรุงเพิ่ม แต่อย่าลืมดูแลเรื่องอาหารการกิน เน้นไปที่อาหารที่มีคุณภาพ สารอาหารครบถ้วน ตามความต้องการของคนท้อง เพื่อให้แม่ท้องมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ลูกในท้องเกิดมาครบ 32 นะคะ

 

แม่ ๆ รู้กันไปแล้วว่าน้ำหนักตั้งครรภ์ น้ำหนักแม่น้อยไปไหม ควรขึ้นเท่าไหร่ มาโหวตกันหน่อยว่า คุณปล่อยตัวให้น้ำหนักขึ้นเกิดปกติขณะตั้งครรภ์หรือไม่ ถ้ากดไม่ได้ คลิกที่นี่

ความคิดเห็นของคุณคืออะไร

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

อาการคันขณะตั้งครรภ์ ผื่นขึ้นที่ท้อง เป็นปื้นแดง ลุกลามทั้งตัว แม่ท้องเป็นอะไรกันแน่นะ

ก้นลายตอนท้อง หน้าท้องแตกลาย ทำอย่างไรไม่ให้ผิวสวยกลายเป็นผิวเสีย

วิธีบํารุงคนท้อง คนท้องกินอะไรดี อาหารบํารุงครรภ์ ไตรมาสแรกจนไตรมาสสุดท้าย

แม่ท้องกลัวแท้ง! ไม่อยากเสียลูก ต้องรู้จัก ยากันแท้ง ป้องการแท้งบุตร ยานี้คืออะไร

 


*ภาพและข้อมูลมีลิขสิทธิ์เจ้าของโดย บริษัท ทิคเกิ้ลมีเดีย จำกัด ไม่อนุญาตให้คัดลอกข้อมูล และนำรูปภาพไปเผยแพร่ต่อไม่ว่าวิธีใด ๆ หากฝ่าฝืน ทางบริษัทฯจะดำเนินการตามกฎหมาย เว้นแต่ได้มีการขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรกับทางบริษัทฯเรียบร้อยแล้ว

บทความจากพันธมิตร
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • น้ำหนักแม่น้อยไปไหม? น้ำหนักตั้งครรภ์ควรขึ้นเท่าไหร่ น้ำหนักคนท้องควรขึ้นกี่กิโล
แชร์ :
  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

  • อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
    บทความจากพันธมิตร

    อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

  • อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
    บทความจากพันธมิตร

    อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว