X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

บทความ 5 นาที
ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด เพราะเด็กๆ ที่รีบออกมาดูโลกใหม่นั้น น้ำหนักไม่เท่ากับเด็กที่คลอดออกมาตอนครบกำหนด การติดตามน้ำหนักจึงต่างกัน

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด เด็กที่คลอดก่อนกำหนดนั้น หมายถึง คุณเเม่ที่คลอดก่อนสัปดาห์ที่ 37 เเน่นอนว่า ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์ สำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด เมื่อเทียบกับเด็กที่คลอดเต็มกำหนด ต่างกันค่ะ ดังนั้น น้ำหนักที่ขึ้นตามเกณฑ์ย่อมไม่เท่ากันเช่นกัน

 

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด-01

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด-01

 

เนื่องจาก เด็กที่คลอดครบกำหนด จะมีน้ำหนักเเรกเกิดอยู่ที่  2500 – 3000 กรัม  หรือ ประมาณ 3 กิโลกรัม เเต่ในเด็กเเรกเกิด ที่คลอดก่อนกำหนดนั้น มีน้ำหนักน้อยกว่า เเละ เเตกต่างกันออกไปค่ะ  สามารถตรวจสอบได้จาก ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

 

 

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด

ตารางน้ำหนัก-02

ตารางน้ำหนัก-02

  • เด็กที่คลอดก่อนกำหนด น้ำหนัก จะเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อย ไม่กี่วันหลังคลอด
  • ถ้าลูกคลอดก่อนกำหนดมาก ๆ ตัวเล็กมาก ๆ น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นอาจจะเเค่ วันละ  5 กรัมเท่านั้น เเต่ถ้าหากลูกตัวใหญ่พอ ๆ กับเด็กที่ครบกำหนด น้ำหนักอาจจะเพิ่มขึ้น ได้มากถึง 20 กรัมต่อวัน
  • ขึ้นอยู่กับ เเต่ละโรงพยาบาล ตารางน้ำหนักนี้ เป็นเพียงเเค่คำแนะนำเบื้องต้นเท่านั้นค่ะ คุณหมอ หรือ เเต่ละโรงพยาบาล อาจจะมีเกณฑ์มาตรฐาน ที่เเตกต่างไป จากนี้ได้เช่นกัน โดยส่วนใหญ่เเล้วเด็ก ๆ ที่คลอดก่อนกำหนดนั้น คุณหมอจะตรวจให้เเน่ใจว่า ไม่มีปัญหาสุขภาพใด ๆ ที่เกิดขึ้น น้ำหนักขึ้นปกติ ก่อนที่จะให้คุณเเม่พาลูกกลับบ้านได้
Advertisement
ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

การเพิ่มน้ำหนัก ของเด็กคลอดก่อนกำหนด

  1. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดํา หรือ Intravenous (IV) Lines เนื่องจาก เด็กที่คลอดก่อนกำหนดบางคน ยังไม่สามารถที่จะดูดนมเเม่ เเละ กลืนด้วยตัวเองได้ วิธีนี้ จึงเป็นวิธี ที่ลูกจะได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วนค่ะ
  2. การให้สารอาหารทางสะดือ หรือ Umbilical Catheter แม้วิธีนี้จะไม่ทำให้ลูก ได้รับความเจ็บปวด เเต่ก็มีความเสี่ยงอยู่บ้าง เนื่องจากอาจการให้สารอาหารด้วยวิธีนี้ จะทำให้อุดตันในเลือด และ ติดเชื้อในขณะที่อยู่ในสายสวนสะดือได้
  3. การให้สารอาหารทางจมูกหรือปาก หรือ Oral And Nasal Feeding จะให้อาหารวิธีนี้ ก็ต่อเมื่อลูกสามารถดูด  เเละ กลืนเองได้เเล้ว
  4. การให้อาหารทางสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง หรือ Central Line หรือ การให้สารอาหาร ผ่านทางสายน้ำเกลือ บริเวณหลังมือนั่นเองค่ะ

ที่มา Momjunction

 

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

มหัศจรรย์การกอด ช่วยชีวิตทารกคลอดก่อนกำหนด

11 ปัญหาสุขภาพ ที่เด็กคลอดก่อนกำหนดต้องเจอ

             ลงทะเบียน รับการดูแลตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ กับ the Asianparent Thailand ตั้งแต่ช่วงไตรมาสแรก มาติดตามพัฒนาการของลูก อย่างใกล้ชิด ว่าลูกโตขึ้นแค่ไหนกันนะ ไตรมาสที่ 2  มาฟังเสียงลูกน้อย นับว่าหนึ่งวันลูกดื่นไหมนะ และ ลูกตื่นวันละกี่ครั้ง ด้วยแอพพลิเคชั่น the Asianparent Thailand  นี่เป็นแค่ตัวอย่างกิจกรรม บนแอพพลิเคชั่น ในส่วนแรก เพราะคุณแม่ จะได้รับการดูแล ทั้งอาหาร การกิน โดยการออกแบบ จากผู้เชี่ยวชาญ ว่าควรทานอะไรบ้าง ในแต่ช่วงอายุครรภ์ ยาที่เป็นอันตราย ชนิดไหนบ้าง ที่ไม่ควรทาน กิจกรรมใดบ้าง ที่ทำได้ หรือ ทำไม่ได้ เคล็ดลับการตั้งชื่อลูกอย่างไร ให้เป็นมงคลทั้ง เด็กหญิง และ เด็กชาย รวมถึงเตรียมแผนการล่วงหน้า ถึงอนาคต การเตรียมคลอด การดูแลตนเองหลังคลอด ที่ครอบคลุมทุกช่วงเวลา ที่คุณแม่ต้องการ 

           the Asianparent Thailand เว็บไซต์ และ คอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่คุณแม่เลือก นอกจากสาระความรู้ ที่เรามอบให้คุณแม่ ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การวางแผนมีลูกแล้ว เรายังมีแอพพลิเคชั่นรวมถึงสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ที่ช่วยตอบโจทย์ทุกความต้องการของคุณแม่ยุคใหม่ ที่ต้องทำงาน และ ดูแลลูกไปพร้อมกัน ให้มีความมั่นใจ และ พร้อมในการดูแลลูกทุกช่วงเวลา ตั้งแต่การให้นมบุตร การดูแลตนเองหลังคลอด ท่าออกกำลังกายหลังคลอดเพื่อให้หุ่นของแม่หลังคลอดกลับมาฟิตแอนเฟิร์มอีกครั้ง  the Asianparent Thailand ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุนคุณพ่อคุณแม่ในเรื่องการดูแลลูก ความรู้แม่และเด็กที่เต็มเปี่ยม และตอบทุกข้อสงสัยในแอพพลิเคชั่นที่เป็นสื่อกลาง และกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย

 

 

 

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว