X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

หัวนมแตก ต้องหยุดให้นมลูกหรือไม่? แล้วควรทำอย่างไรดี

บทความ 3 นาที
หัวนมแตก ต้องหยุดให้นมลูกหรือไม่? แล้วควรทำอย่างไรดีหัวนมแตก ต้องหยุดให้นมลูกหรือไม่? แล้วควรทำอย่างไรดี

คุณแม่ให้นม หัวนมแตก ต้องหยุดให้นมลูกไหม แล้วจะมีวิธีแก้ปัญหาหัวนมแตกได้อย่างไร ไปหาคำตอบกัน

หัวนมแตก ทำไงดี ต้องหยุดให้นมลูกไหม หัวนมแตกเป็นปัญหาที่คุณแม่มือใหม่มักจะเจอกันอยู่บ่อยๆในช่วงให้นมลูก ส่วนใหญ่แล้วมักเกิดจากการที่ลูกอมงับเต้านมไม่ลึกพอ อมได้เพียงหัวนม ทำให้เหงือกของลูกกดที่หัวนม และลิ้นถูไปมาบริเวณปลายหัวนม จนทำให้หัวนมเจ็บและเป็นแผลได้ในที่สุด ส่วนสาเหตุอื่นๆที่ทำให้ หัวนมแตกในช่วงให้นม มีดังนี้

  • คุณแม่ให้นมลูกผิดท่า
  • คุณแม่กลัวว่าลูกจะหายใจไม่ออกตอนที่ดูดนม จึงใช้นิ้วมือกดไว้ตรงขอบลานนม ทำให้ลูกอมงับได้ไม่ลึก
  • เต้านมของคุณแม่คัดตึงมาก จนลูกอมได้ไม่ลึกพอ
  • คุณแม่ดึงลูกออกจากเต้าในขณะที่ลูกยังดูดนมอยู่ จึงทำให้ผิวหนังแตกเป็นแผล
  • ลูกมีพังผืดใต้ลิ้น
  • เกิดจากการติดเชื้อที่หัวนม ทำให้เกิดเป็นแผลอักเสบ

 

หัวนมแตก

หัวนมแตกทำไงดี หัวนมแตก ต้องหยุดให้นมลูกไหม

หากไม่เจ็บมาก คุณแม่ก็ยังสามารถให้นมลูกได้อยู่ ส่วนวิธีแก้ปัญหาหัวนมแตก ของคุณแม่ให้นมนั้น จะแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือช่วงก่อนที่จะให้นมลูก และช่วงหลังจากการให้นมลูก โดยมีวิธีการดังนี้

 

ก่อนให้นมลูก ต้องทำอย่างไรเพื่อป้องกัน หัวนมแตก

  • ทำใจให้สบาย ไม่เครียด หากคุณแม่รู้สึกผ่อนคลาย จะช่วยให้น้ำนมหลั่งได้ดีขึ้น
  • ให้ลูกอมงับหัวนมให้ถูกต้อง

>> แม่สอนลูก!!!ต้องงับหัวนมแบบนี้ถูกวิธีนะคะ <<

  • เริ่มให้นมข้างที่หัวนมไม่แตกก่อน
  • หากคุณแม่มีอาการคัดเต้านม ให้แก้ปัญหาเต้านมคัด จากนั้นให้ลูกดูดนมบ่อยๆ อย่างน้อยทุก 2 – 3 ชั่วโมง

>> ทำอย่างไร เมื่อคัดเต้านม <<

  • ปกติแล้ว เมื่อลูกดูดนมแม่อิ่ม ลูกจะคายปากออกจากเต้าเอง แต่ถ้าต้องการให้ลูกออกจากเต้า ขณะที่ลูกยังงับเต้านมอยู่ ให้ใช้นิ้วมือสอดเข้าที่มุมปาก ให้นิ้วอยู่ระหว่างเหงือกของลูกเพื่อลดแรงดูดของลูก จากนั้นจึงค่อยๆ ถอนหัวนมออกมา

 

หลังให้นมลูก หัวนมแตก

  • ล้างมือให้สะอาด แล้วบีบน้ำนม 2 – 3 หยด ทาบริเวณที่หัวนมแตก แล้วทิ้งไว้ให้แห้ง จะช่วยสมานแผลได้ในระดับหนึ่ง
  • ใช้แผ่นป้องกันหัวนม ช่วงที่มีอาการหัวนมแตก

>> แผ่นป้องกันหัวนม คืออะไร ควรใช้หรือไม่ระหว่างให้นมลูก? <<

  • หรืออาจจะใช้ประทุมแก้วครอบหัวนม เพื่อป้องกันการระคายเคืองจากการสัมผัสกับเสื้อชั้นใน
  • หากคุณแม่รู้สึกเจ็บมากตอนให้นมลูก ควรงดให้นมข้างที่เจ็บไว้ก่อน 1 – 2 วัน หรือจนกว่าแผลจะดีขึ้น
  • บีบน้ำนมออกทุก ๆ 3 ชั่วโมง เพื่อป้องกันเต้านมคัดและป้อนนมที่บีบไว้ให้ลูกกินจากแก้วหรือหลอด

>> การฝึกลูกน้อยกินนมจากแก้วและหลอด แบบง่ายๆ ทำอย่างไร <<

  • หากคุณแม่รู้สึกเจ็บปวดมาก หรือหายช้า ควรเข้าไปพบคุณหมอเพื่อตรวจรักษาต่อไป

 

สำหรับคุณแม่ที่กำลังเป็นกังวลเรื่องหัวนมแตก แล้วกำลังมองหาผลิตภัณฑ์สำหรับป้องกันและบำรุงหัวนมอยู่ เราขอเสนอผลิตภัณฑ์ที่จะมาทำให้คุณแม่รู้สึกดีขึ้น และไม่ส่งผลอันตรายต่อลูกน้อยของคุณอีกด้วย นั่นคือ Mama’s Choice  Intensive Nipple Cream ครีมทาหัวนม ครีมแก้หัวนมแตก สูตรพิเศษเพื่อคุณแม่ให้นมและผู้มีปัญหาหัวนมแตกโดยเฉพาะ มีส่นผสมที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ 

  • อินทผลัม - บำรุงหัวนม ต้านอนุมูลอิสระ
  • น้ำมันมะพร้าว - คืนความชุ่มชื้นให้หัวนม เติมน้ำเติมนวลให้ผิว
  • เชียบัตเตอร์ - เสริมเกราะป้องกันให้ผิว ป้องกันอาการแพ้หรืออักเสบ

ผลิตภัณฑ์ตัวนี้คือครีมทาหัวนมที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มแม่ ๆ ที่กำลังประสบกับปัญหาเหล่านี้อยู่ หากได้ลองใช้เชื่อเลยว่าจะทำให้คุณแม่รู้สึกดีขึ้นและมีความมั่นใจมากขึ้นไม่น้อย ผลิตภัณฑ์ตัวนี้ทำมาจากสารสกัดธรรมชาติมากด้วยคุณประโยชน์ที่หลากหลาย เรียกว่าทำมาเพื่อตอบโจทย์ของคุณแม่อย่างเราโดยเฉพาะ นอกจากจะช่วยลดอาการคันและรอยแตกบริเวณหัวนมแล้ว ยังช่วยบำรุงหัวนมให้มีความชุ่มชื้นและไม่คล้ำอีกด้วย ที่สำคัญคือทาแล้วไม่ต้องล้างออก ปลอดภัย 100% แน่นอน หรือคุณแม่สามารถดูผลิตภัณฑ์บำรุงหัวนมอื่นๆ ได้ที่ 7 ครีมทาหัวนม ยี่ห้อไหนดีและปลอดภัยกับคุณแม่และคุณลูกที่สุด มาดูกัน!

 

ที่มา :  1

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

ไวท์ดอท เรื่องที่ทำแม่ให้นมต้องนอนร้องไห้ เช็คหัวนมด่วน มีจุดขาวไหม

สมุนไพรเพิ่มน้ำนม เห็นผลทันใจ แถมให้ประโยชน์ทั้งแม่และลูก

คัมภีร์นมแม่ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เรื่องนมๆที่แม่ควรรู้

บทความจากพันธมิตร
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
2022 คุณแม่ต้องรู้ รีวิวเจาะลึกสารอาหารหลักนมกล่อง UHT ให้ลูกมีพัฒนาการดีที่สุดตามช่วงวัย
2022 คุณแม่ต้องรู้ รีวิวเจาะลึกสารอาหารหลักนมกล่อง UHT ให้ลูกมีพัฒนาการดีที่สุดตามช่วงวัย
จบปัญหา นมสต็อกเหม็นหืน ด้วย SUNFAMILY Application จาก SUNMUM แอปเดียวอยู่หมัด
จบปัญหา นมสต็อกเหม็นหืน ด้วย SUNFAMILY Application จาก SUNMUM แอปเดียวอยู่หมัด
น้ำหัวปลีออร์แกนิค อาหารเพิ่มน้ำนมเพื่อคุณแม่ อร่อย ดื่มง่าย คุณประโยชน์สูง
น้ำหัวปลีออร์แกนิค อาหารเพิ่มน้ำนมเพื่อคุณแม่ อร่อย ดื่มง่าย คุณประโยชน์สูง

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • การให้นมลูก
  • /
  • หัวนมแตก ต้องหยุดให้นมลูกหรือไม่? แล้วควรทำอย่างไรดี
แชร์ :
  • หัวนมแตก 100 สิ่งแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 43 หัวนมแตกเกิดจากอะไร ป้องกันอย่างไร ?

    หัวนมแตก 100 สิ่งแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 43 หัวนมแตกเกิดจากอะไร ป้องกันอย่างไร ?

  • หัวนมแตกป้องกันได้ ครีมทาหัวนมแตก ครีมทาแก้หัวนมแตก

    หัวนมแตกป้องกันได้ ครีมทาหัวนมแตก ครีมทาแก้หัวนมแตก

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

app info
get app banner
  • หัวนมแตก 100 สิ่งแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 43 หัวนมแตกเกิดจากอะไร ป้องกันอย่างไร ?

    หัวนมแตก 100 สิ่งแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 43 หัวนมแตกเกิดจากอะไร ป้องกันอย่างไร ?

  • หัวนมแตกป้องกันได้ ครีมทาหัวนมแตก ครีมทาแก้หัวนมแตก

    หัวนมแตกป้องกันได้ ครีมทาหัวนมแตก ครีมทาแก้หัวนมแตก

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ