theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

ลูกติดเกม ติดมือถือ อันตราย! วิธีเลี้ยงดูลูกอย่างไร ไม่ให้ลูกเสพติดจอ อย่าทำร้ายสุขภาพลูก

บทความ 3 นาที
แชร์ :
•••
ลูกติดเกม ติดมือถือ อันตราย! วิธีเลี้ยงดูลูกอย่างไร ไม่ให้ลูกเสพติดจอ อย่าทำร้ายสุขภาพลูก

อย่าโทษลูกที่ติดเกม เพราะพ่อแม่ปล่อยปละละเลยหรือเปล่า สาเหตุที่ลูกติดเกม ติดมือถือ อยู่ที่การเลี้ยงดูตั้งแต่เล็ก ๆ

ลูกติดเกม ติดมือถือ

ลูกติดเกม ติดมือถือ เพราะการเลี้ยงดูพ่อแม่ จิตแพทย์ห่วงเด็กไทย พ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยมือถือ หวังให้อยู่นิ่ง ๆ ทำร้ายสุขภาพลูก เด็กอ้วนมาก เสียสายตา มีปัญหาสุขภาพจิต

 

พ่อแม่หรือเปล่าที่ทำให้ลูกติดเกม! ชอบเลี้ยงลูกด้วยมือถือ สบายลูกไม่กวนใจ

จิตแพทย์ เผยเด็กไทยติดเกมอันดับต้น ๆ ของโลก

นพ.ยงยุทธ์ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ อดีตนายกสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย กล่าวว่า ปัจจุบันองค์การอนามัยโลกได้จัดภาวะติดเกมเป็น 1 โรคทางจิตเวชที่ต้องได้รับการรักษา หรือเรียกว่าภาวะเสพติดพฤติกรรม

 

สาเหตุที่ทำให้ลูกติดเกม

ประเทศไทยจัดเป็นประเทศที่มีปัญหาเด็กติดเกมมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก เพราะพ่อ แม่ขาดความเข้าใจ เลี้ยงลูกด้วยโทรศัพท์มือถือ ให้เล่นเกมเพื่อจะได้อยู่นิ่ง ๆ และอยู่ในสายตา พอมากเกินไปทำให้เด็กมีปัญหาการติดเกม เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงเลยโดยเฉพาะวัยรุ่นชาย ทั้งนี้ จากข้อมูลมีเด็กที่เข้ารับการปรึกษาปัญหาติดเกมอายุน้อยสุดอยู่ในวัยอนุบาล

 

ลูกติดเกม ติดมือถือ อันตราย! วิธีเลี้ยงดูลูกอย่างไร ไม่ให้ลูกเสพติดจอ อย่าทำร้ายสุขภาพลูก ลูกติดเกม ติดมือถือ, เด็กอนุบาล ติดเกม, ลูกติดจอ, ปัญหาเด็กติดเกม

ลูกติดเกม ติดมือถืออันตราย

 

อันตรายจากลูกติดเกม ติดมือถือ

  1. การติดเกมมีผลกระทบกับสุขภาพ
  2. เสียสายตา
  3. อ้วนมาก เพราะขาดการเคลื่อนไหว
  4. มีปัญหาสุขภาพจิต ไม่สื่อสาร ไม่เข้าสังคม หนีปัญหา พอเกิดปัญหาก็หนีไปหาเกม

ที่หนักมาก คือ การติดเกมหนักไม่ยอมกินยอมนอน ทำให้ร่างกายอ่อนแอ สูญเสียเกลือแร่ และความสมดุลของร่างกาย ทำให้เกิดภาวะช็อก เสียชีวิตคาจอ ยิ่งถ้ามีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจถือว่าอันตรายเพิ่มขึ้นอีก

 

วิธีป้องกันลูกติดเกม ติดมือถือ

ขอให้ผู้ปกครองเอาใจใส่บุตรหลาน ยึดหลัก 3 ต้อง 3 ไม่ คือ

  1. ต้องกำหนดเวลาเล่นไม่เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน
  2. ต้องตกลงโปรแกรมและเลือกประเภทเกมให้ลูก เช่น เกมบริหารสมอง ลดเกมที่เสี่ยงความก้าวร้าวอย่างการฆ่ากันยิงกัน พ่อแม่ต้องอยู่ด้วย
  3. ต้องเล่นกับลูก เพื่อสอนให้คำแนะนำกันได้

ส่วน “3 ไม่” ได้แก่ 1.พ่อแม่ไม่เล่นเป็นตัวอย่าง 2.ไม่เล่นในเวลาครอบครัว และ 3.ไม่เล่นในห้องนอน

 

เพื่อป้องกันลูกติดเกม ติดมือถือ พ่อแม่ต้องไม่เลี้ยงลูกด้วยมือถือ โดยเฉพาะในวัยทารก หากลูกติดแล้ว จะเสียสุขภาพ มีปัญหาอื่น ๆ ตามมาได้

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ลูกดูดนิ้ว กัดเล็บ ข้อดีของการดูดนิ้ว ทารกดูดนิ้ว ดีอย่างไร ต้องจับลูกเลิกหรือไม่ วิธีเลิกดูดนิ้ว วิธีเลิกกัดเล็บ

6 วิธีแก้เด็กติดจอ ดูแลลูกอย่างไรไม่ให้ติดโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์

แม่ห้ามทำ เมื่อลูกอาละวาด ลูกโมโหง่าย โมโหร้าย ก้าวร้าว วิธีจัดการเด็กอาละวาด 4 ไม่ ที่แม่ห้ามทำ เมื่อลูกเกิดกรีดร้อง อาละวาด

สมาธิสั้นเทียมเพราะมือถือ ลูกเป็นไฮเปอร์เทียม เพราะเล่นแท็บเล็ตทั้งวัน เลี้ยงลูกด้วยมือถือ ก็ต้องเจอแบบนี้!

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • /
  • ลูกติดเกม ติดมือถือ อันตราย! วิธีเลี้ยงดูลูกอย่างไร ไม่ให้ลูกเสพติดจอ อย่าทำร้ายสุขภาพลูก
แชร์ :
•••
  • เด็กติดเกม ทำเด็กก้าวร้าว-ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตแพทย์แนะ! วิธีป้องกันและแก้ไข

    เด็กติดเกม ทำเด็กก้าวร้าว-ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตแพทย์แนะ! วิธีป้องกันและแก้ไข

  • ให้มือถือลูกเมื่อไหร่ดี? มือถือเป็นสิ่งจำเป็นในปัจุบัน เมื่อไหร่ลูกเราถึงพร้อม

    ให้มือถือลูกเมื่อไหร่ดี? มือถือเป็นสิ่งจำเป็นในปัจุบัน เมื่อไหร่ลูกเราถึงพร้อม

  • นมแม่สารพัดประโยชน์ ไม่ได้จบที่แค่ให้ลูกดูดอย่างเดียว

    นมแม่สารพัดประโยชน์ ไม่ได้จบที่แค่ให้ลูกดูดอย่างเดียว

  • เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

    เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

app info
get app banner
  • เด็กติดเกม ทำเด็กก้าวร้าว-ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตแพทย์แนะ! วิธีป้องกันและแก้ไข

    เด็กติดเกม ทำเด็กก้าวร้าว-ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตแพทย์แนะ! วิธีป้องกันและแก้ไข

  • ให้มือถือลูกเมื่อไหร่ดี? มือถือเป็นสิ่งจำเป็นในปัจุบัน เมื่อไหร่ลูกเราถึงพร้อม

    ให้มือถือลูกเมื่อไหร่ดี? มือถือเป็นสิ่งจำเป็นในปัจุบัน เมื่อไหร่ลูกเราถึงพร้อม

  • นมแม่สารพัดประโยชน์ ไม่ได้จบที่แค่ให้ลูกดูดอย่างเดียว

    นมแม่สารพัดประโยชน์ ไม่ได้จบที่แค่ให้ลูกดูดอย่างเดียว

  • เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

    เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป