X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย ขนาดเจ้าโลกของสามี ทำให้มีลูกยาก?

บทความ 5 นาที
ภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย ขนาดเจ้าโลกของสามี ทำให้มีลูกยาก?

สามีไซส์มินิมีลูกยากจริงเหรอ? ขนาดของอวัยวะเพศ มีผลต่อภาวะมีบุตรยากไหม

ภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย

ภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย เกี่ยวกับไซส์เจ้าโลกจริงเหรอ แล้วสามีไซส์มินิ จะมีลูกได้ไหม?

 

ขนาดเจ้าโลกของสามี ทำให้มีลูกยาก เกี่ยวกันเหรอเนี่ย

พญ.ชัญวลี ศรีสุโข ได้อธิบายไว้ในคอลัมน์ ศุกร์กับเซ็กส์ ไว้ว่า สำหรับเรื่องอวัยวะเพศสั้นนั้น ไม่เกี่ยวกับเรื่องมีบุตรยาก โดยข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอวัยวะเพศชายนั้น มีดังนี้

  • ขนาดของอวัยวะเพศทั้งเส้นรอบวงและความยาวมีความแตกต่างมาก เนื่องจากอยู่ที่การวัดจากไหนไปไหน วัดด้านข้างหรือตรงกลาง ยืดในขณะวัดหรือไม่ อุณหภูมิห้อง ความคลาดเคลื่อนของผู้วัด อายุ (อวัยวะเพศสมบูรณ์เต็มที่หลังอายุ 18 ปี) ดังนั้น แต่ละงานวิจัยจะมีความแตกต่างกันได้มากๆ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม พบว่าความยาวเมื่ออ่อนตัวมักอยู่ที่ 3.4-3.7 นิ้ว ความยาวเมื่อแข็งตัวอยู่ที่ 5.1-5.9 นิ้ว เส้นรอบวง เมื่ออ่อนตัวอยู่ที่ 3-4 นิ้ว แข็งตัวอยู่ที่ 3.5-5.5 นิ้ว (วัดกลางลำ)
  • ความยาวเมื่อแข็งตัวน้อยกว่า 2 นิ้ว (บางตำราเอา 2.75 นิ้ว) จึงถือว่าสั้น
  • ไม่ว่าจะเริ่มที่กี่นิ้วขณะอ่อนตัว ขณะแข็งตัวอาจจะมีขนาดเท่ากันได้
  • คุณผู้ชายมักจะคิดว่าของตนเองสั้น เพราะเปรียบเทียบกับรูปอวัยวะเพศดารา นายแบบ หนังโป๊ ฯลฯ ซึ่งมักจะเลือกชายที่มีอวัยวะเพศขนาดยาวใหญ่เตะตามาเป็นแบบ
  • การศึกษาขนาดมักจะเกินความเป็นจริง เพราะคนวัดมักจะบอกตัวเลขให้มากกว่าที่วัดได้
  • งานวิจัยในชายที่เสริมขนาดอวัยวะเพศ พบว่า ขนาดเดิมก่อนเสริมในชายส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปกติของชายทั่วไป
  • เชื่อว่าความรู้สึกว่าอวัยวะเพศตนเล็กและสั้นนั้น เกิดมาตั้งแต่เป็นเด็กชายและเห็นขนาดของพ่อ ซึ่งแน่นอนต้องใหญ่กว่าของเด็ก บางคนมีความฝังใจเปรียบเทียบขนาดของตนเองในขณะอ่อนตัวกับของผู้อื่นในขณะแข็งตัว
  • ความคิดว่าของตนเองเล็ก อาจเป็นกลุ่มอาการห้องแต่งตัวชาย (locker room syndrome) เกิดจากการแอบดูอวัยวะเพศที่อ่อนตัวของชายอื่น เนื่องจากในสภาพอ่อนตัวมีขนาดต่างกันมาก คนที่อยู่ในกลุ่มอาการนี้จึงคิดว่าของตนเองเล็ก/สั้น
  • มีกลุ่มอาการอวัยวะเพศชายเล็ก/สั้น (small or short penis syndrome) ผู้ชายที่มีอาการแม้อวัยวะเพศตนเองไม่เล็ก แต่คิดเอาเอง ฝังใจว่าเล็ก มีความวิตกกังวลกับเรื่องนี้ตลอด ตามมาด้วยปัญหา ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมและสังคมไม่ดี มีปัญหาเพศสัมพันธ์ตามมา
  • งานวิจัยพบว่า ร้อยละ 85 ของผู้หญิงพอใจกับขนาดอวัยวะเพศชายของแฟน
  • ในงานวิจัยที่ทำกับสตรีพบว่า มีเพียงร้อยละ 18 ที่ให้ความสำคัญมาก ๆ เกี่ยวกับความยาวของอวัยวะเพศชาย ร้อยละ 22 ให้ความสำคัญมากๆกับเส้นรอบวง ขณะที่ร้อยละ 25 ไม่สนใจไม่ให้ความสำคัญทั้งความยาวและเส้นรอบวง เกินครึ่งไปเล็กน้อยบอกว่า ความยาวและเส้นรอบวงมีความสำคัญอยู่บ้าง

 

คุณภาพของสเปิร์มสำคัญกว่าขนาด

สิ่งที่ต้องให้ความสำคัญมากกว่าขนาดของเจ้าโลก คือ สเปิร์มต้องแข็งแรง! ข้อมูลจาก คอลัมน์ คุยกับหมอพิณ โดย พ.ญ.พิณนภางค์ ศรีพหล นำเสนอหัวข้อ อยากสเปิร์มแข็งแรง ต้องหลีกเลี่ยงกิจกรรมทำลาย(ลูก)อ๊อด ไว้ว่า

จะทำให้สเปิร์มแข็งแรงได้อย่างไรดี

  • ลดน้ำหนัก: ชายอ้วนมักมีจำนวนเชื้อน้อยและความพลิ้วไหวของสเปิร์มน้อยกว่า
  • กินอาหารที่มีประโยชน์ พวกผักผลไม้ที่มีแอนตี้ออกซิแดนต์
  • หลีกเลี่ยงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พวกคลามีเดีย หนองใน ซึ่งป้องกันได้โดยการสวมใส่ถุงยางอนามัยนะคะ
  • อย่าเครียด
  • ออกกำลังบ้าง ตัวพ่อพลิ้ว ตัวลูกก็พลิ้วนะคะ

 

แล้วกิจกรรมอะไรบ้างที่ทำลายล้างอสุจิหรือลูกอ๊อด ที่เราควรหลีกเลี่ยง

  1. บุหรี่ : ส่งผลต่อจำนวนเชื้อและความพลิ้วไหวของเชื้อ
  2. เหล้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ : ลดการสร้างฮอร์โมนเพศชาย ทำให้น้องชายไม่สู้ นกเขาขันยาก ลดการสร้างเชื้ออสุจิ ดังนั้นคุณผู้ชายทั้งหลาย ถ้าจะดื่ม ดื่มแต่พองาม นึกถึงอนาคตลูกในไข่ เอ๊ยลูกในไส้บ้างนะคะ
  3. หลีกเลี่ยงการใช้สารหล่อลื่น
  4. ยาบางชนิด หรือการรักษามะเร็ง เช่น การฉายแสงหรือเคมีบำบัดบางชนิด สามารถส่งผลทำลายล้างการสร้างสเปิร์มได้ ดังนั้นถ้าคุณผู้ชายมีโรคเรื้อรัง แล้วมีบุตรยากให้ปรึกษากับหมอที่รักษาด้วยนะคะ ว่ามียาอะไรที่มีผลกระทบต่อการสร้างน้ำเชื้อรึเปล่า
  5. สารพิษบางชนิด เช่น ตะกั่ว ยาฆ่าแมลง
  6. อย่าทำให้ไข่ (อัณฑะ) ร้อน : หลีกเลี่ยงการแช่น้ำร้อน เซาน่าบ่อย ๆ การวางโน้ตบุ๊กแล็ปทอปไว้บนตัก (ขายังร้อน…แล้วอัณฑะล่ะ !!) การใส่กางเกงรัด ๆ การนั่งนาน ๆ (เช่น อาชีพคนขับรถ)

อ่านเพิ่มเติม อยากสเปิร์มแข็งแรงต้องไม่ทำลายลูกอ๊อด บอกสามีเลี่ยงกิจกรรมเหล่านี้ รับรองมีลูกสมใจ

ที่มา : komchadluek.net และ prachachat.net

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

6 ท่าเซ็ก จู๋เล็ก สำหรับสามีไซส์มินิ พร้อมคลิปประกอบท่าทาง

อาหาร 5 อย่าง ที่ห้ามกินก่อนมีเซ็กส์

วิธีทำให้ท้อง มีลูกยาก อยากมีลูก วิธีทำลูกแบบไหนชัวร์สุด

 

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย ขนาดเจ้าโลกของสามี ทำให้มีลูกยาก?
แชร์ :
  • การตั้งครรภ์ : รวมเคล็ดลับและความรู้เพื่อการตั้งครรภ์คุณภาพ

    การตั้งครรภ์ : รวมเคล็ดลับและความรู้เพื่อการตั้งครรภ์คุณภาพ

  • ท้องไหม ตรวจการตั้งครรภ์ได้กี่วิธี

    ท้องไหม ตรวจการตั้งครรภ์ได้กี่วิธี

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • การตั้งครรภ์ : รวมเคล็ดลับและความรู้เพื่อการตั้งครรภ์คุณภาพ

    การตั้งครรภ์ : รวมเคล็ดลับและความรู้เพื่อการตั้งครรภ์คุณภาพ

  • ท้องไหม ตรวจการตั้งครรภ์ได้กี่วิธี

    ท้องไหม ตรวจการตั้งครรภ์ได้กี่วิธี

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ