X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
Product Guide
เข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ฝึกลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบ

บทความ 3 นาที
ฝึกลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบ

อาหารสำคัญของทารกตั้งแต่แรกเกิดคือนมแม่ จนเมื่อถึงอายุ 6 เดือน จึงเริ่มให้อาหารเสริม ซึ่งอาหารเสริมนั้นเริ่มแรกจะมีลักษณะอ่อนนิ่มจนลูกสามารถกลืนได้เลย เพราะลูกยังไม่รู้จักการบดเคี้ยว แต่วัยนี้ลูกจะเริ่มมีเหงือกที่แข็งแรงขึ้นและสามารถบดเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบได้บ้างแล้ว คุณแม่ควรฝึกลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบนะคะ เพราะการฝึกลูกเคี้ยวอาหาร เป็นการฝึกนิสัยการกินที่ดีของลูกต่อไป ดีอย่างไรติดตามอ่าน

ฝึกลูกเคี้ยวอาหาร, ฝึกลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบ

ฝึกลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบ

1. เมื่อคุณแม่เริ่มป้อนอาหารเสริม ควรเลือกอาหารที่มีเนื้อละเอียดก่อนและค่อย ๆ ฝึกลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบขึ้น

2.เมื่อลูกอายุประมาณ 7 – 8 เดือน เหงือกของลูกเริ่มแข็งแรงขึ้น และเริ่มมีปุ่มฟันขึ้นบ้างแล้ว ให้คุณแม่นำอาหารที่ปรุงเสร็จแล้วมาตัดหรือหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วค่อย ๆ ปรับให้หยาบขึ้นตามลำดับ

3. ให้ลูกลองรับประทาน ผลไม้เนื้อนิ่ม เพียงแค่หั่นเป็นชิ้นพอคำให้ลูกหยิบทานได้เอง

4. ไม่ควรปล่อยให้ลูกรับประทานอาหารตามลำพัง เพราะอาหารชิ้นเล็ก ๆ อาจเข้าไปติดคอได้

5. ไม่ควรฝึกให้ลูกทานอาหารที่มีเนื้อแข็ง เช่น คุกกี้หรือขนมปังกรอบทันที เพราะลูกจะไม่สามารถบดเคี้ยวได้ อาจทำให้ติดคอ

6. อย่าให้ลูกรับประทานอาหารควบคู่กับนมเพราะจะทำให้ลูกอิ่มเร็วเกินไป

7. ให้ลูกรับประทานอาหารร่วมกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีให้ลูกทำตาม

ผลเสีย : หากไม่ฝึกลูกกินอาหารเนื้อหยาบ

1. การให้ลูกกินอาหารเนื้อเหลวติดต่อกันจนกระทั่งลูกโตพอที่จะเคี้ยวได้ แต่ยังไม่ยอมเคี้ยว และจะทำให้ลูกติดนิสัยไม่ยอมเคี้ยวอาหาร

2. การฝึกเคี้ยวอาหารต้องทำแบบค่อยเป็นค่อยไปตามวัย และตามพัฒนาการของลูก เพราะถ้าคุณแม่ฝึกลูกช่วงที่โตแล้ว  คุณแม่เองก็จะเครียดเพราะอยากให้ลูกทำได้ทันที กลายเป็นกดดันที่ลูก อาจทำให้ลูกเกิดการต่อต้านการรับประทานอาหารจนกลายเป็น     เด็กกินยาก เด็กเลือกกิน

3. ลูกจะได้รับสารอาหารที่ไม่ครบถ้วน และทานอาหารได้น้อยชนิด

4. ลูกจะไม่ชอบตักอาหารเข้าปากเอง จะรอให้คุณแม่ป้อนมากกว่า

5. กลายเป็นเด็กกินยาก

การฝึกให้ลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบ เป็นการฝึกนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีให้กับลูก คุณแม่ควรทำเป็นค่อยเป็นค่อยไป แม่ไม่เครียด ลูกก็ไม่เครียด Happy ทั้งสองฝ่ายนะคะ

 

ข้อมูลอ้างอิง

บทความจากพันธมิตร
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา

https://women.sanook.com

https://www.gotoknow.org

บทความอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

สูตรอาหารเสริมเด็ก 6 เดือนขึ้นไป

เมนูตับเพิ่มธาตุเหล็กให้ลูกน้อยวัย 6-12 เดือน

TAP-ios-for-article-footer-with button

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

มิ่งขวัญ ลิรุจประภากร

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ฝึกลูกเคี้ยวอาหารเนื้อหยาบ
แชร์ :
  • บริษัท ทิกเคิลด์มีเดีย และเว็ปไซต์ theAsianparent ร่วมส่งมอบความสุขเนื่องในวาระดิถีขึ้นปีใหม่

    บริษัท ทิกเคิลด์มีเดีย และเว็ปไซต์ theAsianparent ร่วมส่งมอบความสุขเนื่องในวาระดิถีขึ้นปีใหม่

  • วิธีฝึกลูกลุกนั่งเอง ทำได้ไม่ยาก แม่ต้องฝึกทารกตอนอายุกี่เดือน

    วิธีฝึกลูกลุกนั่งเอง ทำได้ไม่ยาก แม่ต้องฝึกทารกตอนอายุกี่เดือน

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • บริษัท ทิกเคิลด์มีเดีย และเว็ปไซต์ theAsianparent ร่วมส่งมอบความสุขเนื่องในวาระดิถีขึ้นปีใหม่

    บริษัท ทิกเคิลด์มีเดีย และเว็ปไซต์ theAsianparent ร่วมส่งมอบความสุขเนื่องในวาระดิถีขึ้นปีใหม่

  • วิธีฝึกลูกลุกนั่งเอง ทำได้ไม่ยาก แม่ต้องฝึกทารกตอนอายุกี่เดือน

    วิธีฝึกลูกลุกนั่งเอง ทำได้ไม่ยาก แม่ต้องฝึกทารกตอนอายุกี่เดือน

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว