X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม ไม่ต้องกลัวลูกไม่พอกิน

บทความ 5 นาที
ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม ไม่ต้องกลัวลูกไม่พอกิน

เรามาดูกันว่า ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ต้องปั๊มนมให้ลูกสามารถนำไปใช้กันได้เลย

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม ไม่ต้องกลัวลูกไม่พอกิน

เชื่อว่าคุณแม่ทุกท่าน ต่างก็อย่างเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ด้วยกันทั้งนั้น แต่ด้วยปัจจัยหลาย ๆ อย่าง ก็อาจจะทำให้ไม่เป็นไปตามเป้าที่ตั้งไว้ หลาย ๆ ท่านก็มักจะมีความกังวล กลัวว่าน้ำนมจะมีน้อย และไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูก ยิ่งช่วงไหน ที่จะต้องออกไปทำงานนอกบ้านด้วยแล้ว ยิ่งกลัวว่าจะมีสต๊อกน้ำนมไม่พอให้ลูกกิน ตอนที่แม่ไม่อยู่ เรามาดูกันว่า ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนมอย่างสม่ำเสมอ และเพียงพอต่อความต้องการ สำหรับคุณแม่ที่ต้องปั๊มนมให้ลูกสามารถนำไปใช้กันได้เลยครับ

ปริมาณปกติควรปั๊มได้เท่าไหร่

# คุณแม่สามารถกำหนดปริมาณน้ำนมไว้เป็นพื้นฐานอย่างคร่าว ๆ ว่า ควรปั๊มให้ได้เท่าไรในรอบ 24 ชั่วโมง ตัวอย่างเช่น ถ้าให้ลูกดูดนมประมาณ 8 ครั้งต่อวัน คุณก็สามารถกะได้ว่าลูกน่าจะต้องการนมประมาณ 3 ออนซ์ต่อ 1 มื้อทุก 3 ชั่วโมง (24/8 =3 ออนซ์)

# ปริมาณน้ำนมที่แนะนำคือ 25-27 ออนซ์ (750-800 มล.) ต่อวันภายใน 7-10 วันแรกหลังคลอด

# ในกรณีของลูกแฝด ควรตั้งเป้าปั๊มให้ได้ 27-35 ออนซ์ ภายใน 14 วันแรกหลังคลอด

# ปริมาณน้ำนมที่ผลิตอาจเพิ่มได้ช้านานถึง 9-15 สัปดาห์หลังคลอด หากเป็นเช่นนี้ ก็ขอให้คุณแม่ใจเย็น ๆ และปั๊มน้ำนมต่อไปตามปกติก่อนครับ

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม

# หลังคลอด เริ่มต้นปั๊มนมให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยปั๊มให้ได้ 8 – 10 ครั้ง ทุก 24 ชั่วโมง ยิ่งในหนึ่งวัน นั้น หากคุณแม่ปั๊มได้บ่อยเท่าไหร่ ก็ยิ่งจะทำให้เต้านมผลิตน้ำนมได้มากขึ้นเท่านั้น

  • ในการปั๊มแต่ละครั้งให้ปั๊มนมเป็นเวลาอย่างน้อย 10 – 15 นาทีต่อข้าง จนกว่าน้ำนมจะมาจริงๆในวันที่ 3 หรือ 4 หลังคลอด
  • เมื่อปริมาณน้ำนมเพิ่มขึ้นแล้ว พยามปั๊มให้บ่อย และนานขึ้น หรือปั๊มต่ออีก 2 นาทีหลังจากน้ำนมถูกปั๊มหมดแล้ว (การปั๊มนมให้เกลี้ยงเต้า จะช่วยให้น้ำนมผลิตได้เร็วขึ้น)

# ตั้งเป้าที่จำนวนครั้ง ไม่ใช่ระยะห่างของการปั๊มแต่ละครั้ง

  • ถ้ามัวแต่คิดว่าต้องปั๊มทุกกี่ชั่วโมง เช่นทุก 2 หรือ 3 ชั่วโมง หากการปั๊มนมนั้นช้าไปบ้าง นั่นจะทำให้จำนวนครั้งในการปั๊มนมต่อวัน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ ลดลงไปโดยไม่รู้ตัว
  • เมื่อคุณแม่วางแผนว่าจะปั๊มนม ให้คิดว่า “ ฉันจะปั๊มให้ได้ 10 ครั้ง หรือมากกว่าได้อย่างไร ”
  • หากไม่สามารถปั๊มนมตามเวลาได้ ให้ปั๊มนมทุกชั่วโมงแทนในช่วงเวลาที่ทำได้ เพื่อให้ถึงเป้าหมายที่กำหนด (8 – 10 ครั้งต่อวัน)
  • ก่อนที่จะถึงเป้าหมาย หรือ 25-35 ออนซ์ต่อวัน ให้ปั๊มตอนกลางคืนอย่างน้อยหนึ่งครั้ง และอย่าให้ช่วงห่างระหว่างการปั๊มแต่ละครั้งนานเกินกว่า 5 ช.ม. (เต้านมที่คัดมากๆ และไม่ได้ปล่อยออก จะทำให้การผลิตน้ำนมช้าลง)

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม

# เมื่อสามารถปั๊มได้ตามเป้าหมายหรือ 25-35 ออนซ์ต่อวัน คุณแม่ก็อาจจะลดจำนวนครั้งที่ปั๊มลงได้ แต่ยังคงรักษาระดับปริมาณน้ำนมนี้ไว้ได้

  • ลดจำนวนครั้งในการปั๊มเป็น 5-7 ครั้งต่อวัน ซึ่งเป็นจำนวนครั้งที่คุณแม่ส่วนใหญ่ สามารถรักษาระดับปริมาณการผลิตน้ำนมไว้ได้คงที่
  • อาจจะไม่จำเป็นต้องลุกขึ้นมาปั๊มตอนกลางคืน บางคนอาจจะปั๊มก่อนเข้านอน และปั๊มอีกครั้งทันทีที่ตื่นตอนเช้าก็ได้
  • สำหรับคุณแม่บางท่าน เมื่อปริมาณน้ำนมถึงจุดที่กำหนดแล้ว สามารถปั๊มเพียง 10-15 นาทีต่อครั้งก็พอ
  • สังเกตปริมาณน้ำนมอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง และจดบันทึกปริมาณน้ำนมที่ได้ในแต่ละวัน

สำหรับคุณแม่ที่ไม่ได้เริ่มปั๊มนมตั้งแต่แรกๆ และมีลูกอายุ 2 – 3 เดือนแล้ว หรือมากกว่าก็ตาม และมีปัญหาน้ำนมน้อยลง ก็สามารถใช้วิธีข้างต้นไปใช้ได้เช่นกันนะครับ โดยพยายามปั๊มบ่อยๆเท่าที่จะทำได้ เท่านี้ก็ไม่ต้องกังวลเรื่องที่ว่า จะไม่มีน้ำนมให้ลูกแล้วครับ

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม


theAsianparent Thailand เว็บไซต์ และคอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่คุณแม่เลือก นอกจากสาระความรู้ที่เรามอบให้คุณแม่ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การวางแผนมีลูกแล้ว เรายังมีแอพพลิเคชั่น รวมถึงสื่อมัลติมีเดียหลากหลายที่ช่วยตอบโจทย์ทุกความต้องการของคุณแม่ยุคใหม่ ที่ต้องทำงาน และดูแลลูกไปพร้อมกัน ให้มีความมั่นใจ และพร้อมในการดูแลลูกทุกช่วงเวลา ตั้งแต่การให้นมบุตร การดูแลตนเองหลังคลอด ท่าออกกำลังกายหลังคลอด เพื่อให้หุ่นของแม่หลังคลอดกลับมาฟิตแอนเฟิร์มอีกครั้ง  theAsianparent Thailand ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุนคุณพ่อคุณแม่ในเรื่องการดูแลลูก ความรู้แม่และเด็กที่เต็มเปี่ยม และตอบทุกข้อสงสัยในแอพพลิเคชั่นที่เป็นสื่อกลาง และกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย

ที่มา: hudsonvalleybreastfeeding

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

เทคนิคและวิธีเลือกเครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่ต้องรู้

ปั๊มนมแล้วมีเลือดปน แบบนี้จะเป็นอะไรไหม

ขนมแม่ให้นม คนท้องอยากกินขนม กินขนมแบบไหนดี เมนูเด็ด

บทความจากพันธมิตร
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม ไม่ต้องกลัวลูกไม่พอกิน
แชร์ :
  • น้ำนมน้อย ลูกไม่พอกิน เพราะคุณแม่ลืมใส่ใจเรื่องเหล่านี้!

    น้ำนมน้อย ลูกไม่พอกิน เพราะคุณแม่ลืมใส่ใจเรื่องเหล่านี้!

  • ผลไม้เพิ่มน้ำนม สำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย ไม่ต้องกลัวน้ำนมไม่พอ

    ผลไม้เพิ่มน้ำนม สำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย ไม่ต้องกลัวน้ำนมไม่พอ

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • น้ำนมน้อย ลูกไม่พอกิน เพราะคุณแม่ลืมใส่ใจเรื่องเหล่านี้!

    น้ำนมน้อย ลูกไม่พอกิน เพราะคุณแม่ลืมใส่ใจเรื่องเหล่านี้!

  • ผลไม้เพิ่มน้ำนม สำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย ไม่ต้องกลัวน้ำนมไม่พอ

    ผลไม้เพิ่มน้ำนม สำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย ไม่ต้องกลัวน้ำนมไม่พอ

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ