X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ท้องทําไงดี ตั้งครรภ์แล้ว ทำไงต่อล่ะ ต้องดูแลอะไรบ้าง เรามีคำตอบ

บทความ 3 นาที
ท้องทําไงดี ตั้งครรภ์แล้ว ทำไงต่อล่ะ ต้องดูแลอะไรบ้าง เรามีคำตอบ

ระหว่างการตั้งครรภ์ร่างกายของคุณแม่จะพบกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางร่างกายจนน่าประหลาดใจ ฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้นทำให้หน้าอกใหญ่ขึ้น มดลูกขยายตัว และผิวหนังแตกลาย อาจเกิดอาการผมร่วง และความทรมานจากความหิวที่มากขึ้นอย่างคาดไม่ถึง และอยากรับประทานของแปลกๆอย่างผักดอง หรือไอศครีม และแน่นอน ท้องของคุณแม่จะขยายใหญ่ในระหว่างที่ทารกเริ่มเจริญวัย จงอย่าเครียดหรือกังวลกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อท้องครั้งแรก เพราะมันคือส่วนหนึ่งของการตั้งครรภ์ปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติ และดูแลตัวเองให้ดีที่สุด

ท้องทําไงดี โดยเฉลี่ยแล้วการตั้งครรภ์จะใช้เวลาประมาณ 283 วันโดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงตามระยะการตั้งครรภ์ต่างๆ โดยแต่ละช่วงจะมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายแตกต่างกันไป การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะเกิดเร็วขึ้นหรือช้าลงกว่าที่กำหนดไว้ไปตามแต่ละบุคคล และอาจเกิดขึ้นต่อเนื่องหลังจากหมดระยะการตั้งครรภ์ที่อาการได้แสดงออกมาเป็นครั้งแรก

ตั้งครรภ์

ท้องทําไงดี ระยะแรก (สัปดาห์ที่0-12)

ช่วงระยะแรกเป็นช่วงที่สำคัญมากระหว่างคุณแม่และทารกในครรภ์ ซึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในชีวิตประจำวันของตัวคุณแม่

ในระยะนี้ ร่างกายของคุณแม่จะเริ่มเตรียมตัวเองสำหรับอีกเก้าเดือนข้างหน้า จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากฮอร์โมนมากมายในร่างกาย คุณแม่จะต้องพบกับประสบการณ์ต่างๆนานา จากอาการของร่างกาย และอารมณ์ของตัวเอง

ในช่วงสองเดือนแรกของการตั้งครรภ์ร่างกายอาจรู้สึกอ่อนเพลียมาก คุณแม่ไม่ควรรู้สึกแย่กับความอ่อนเพลียที่เกิดขึ้นเพราะร่างกายกำลังทำงานอย่างหนัก และระบบภายในต่างๆกำลังปรับตัวรองรับระดับของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่เพิ่มขึ้น ควรหาโอกาสพักผ่อนให้ได้มากที่สุด

คุณแม่อาจจะต้องเผชิญกับอาการแพ้ท้องในตอนเช้า ซึ่งอาการจะหนักที่สุดในช่วงอาทิตย์ที่ 8-12 น้ำลายจะเริ่มถูกผลิตออกมามากผิดปกติ ปัสสาวะบ่อย อารมณ์แปรปรวน รำคาญง่าย มีฝ้าบนใบหน้า ตัวพอง และอยากอาหาร หน้าอกจะมีความรู้สึกไวต่อการกระตุ้น หรือรู้สึกอวบและหนักขึ้น หัวนมและพานนมจะมีการขยายขึ้นรวมถึงมีสีที่คล้ำขึ้น

ผู้หญิงหลายคนต้องเผชิญกับอาการปวดหัวในช่วงระยะแรก ซึ่งเกิดจากน้ำตาลในเลือดต่ำหรือเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยลงเวลาที่มีการยืนหรือนั่งที่เร็วเกินไป ระหว่างระยะแรกน้ำหนักตัวจะเพิ่มขึ้นมา 1-3 กิโลกรัม

คุณแม่ที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปจะมีความเสี่ยงในการแท้งบุตรซี่งเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมที่เกิดขึ้น คุณแม่อาจจะพิจารณาการทำอัลตร้าซาวน์ ซึ่งจะช่วยให้เห็นด้านหลังของคอทารกและสามารถวิเคราะห์โอกาสที่ทารกจะมีอาการของดาวน์ซินโดรม

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ : รวม 10 เมนูอาหาร บรรเทาอาการแพ้ท้อง สำหรับคุณแม่แพ้ท้องหนัก

ผู้หญิงตั้งครรภ์ ยืนถือถ้วยสลัด

ทำอย่างไรให้มีความสุขเมื่อ ตั้งครรภ์

ระยะที่สอง (สัปดาห์ที่ 13 -25)

ระยะที่สอง โดยปกติ จะเป็นระยะที่คุณแม่รู้สึกดีที่สุด ในระยะนี้ คุณแม่จะรู้สึกแข็งแรงขึ้นกว่าเดิมโดยรวม มีความต้องการทางเพศมากขึ้นและผิวหนังเปล่งปลั่งขึ้นพร้อมกับรูปร่างที่เปลี่ยนไป ในช่วงนี้คุณแม่จะหายจากอาการแพ้ในตอนเช้าและอาการเหนื่อยล้าที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ถ้าคุณแม่ยังรู้สึกคลื่นไส้อาเจียน สามารถขอคำปรึกษาจากแพทย์ในการรับวิตามินบี 6 เพิ่มขึ้น

ในช่วงระหว่างนี้ คุณแม่จะรู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว ซึ่งส่วนมากจะเป็นสาเหตุมาจาก ผิวที่เริ่มแห้งกร้านช่วงบริเวณท้อง ปวดบริเวณช่วงท้อง ลมในกระเพาะอาหาร หายใจได้สั้นลง รู้สึกเสียวที่หัวใจ ผิวแตกลาย และมีอาการบวมที่บริเวณมือ เท้า ข้อเท้า และใบหน้า การเป็นตะคริวบริเวณข้อเท้าและอุ้งเท้าเป็นเรื่องปกติในการตั้งครรภ์ระยะที่สอง และอาจเกิดขึ้นจากความเหนื่อยล้าหรือได้รับแรงกดจากมดลูกลงสู่เส้นประสาทบริเวณขา ฝ่ามือและฝ่าเท้ามีอาการคันและเป็นผื่นแดงเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนเอสโตรเจน

ระหว่างช่วงที่ฮอร์โมนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ร่างกายจะใช้เวลาทั้งหมดสามเดือนในการปรับตัว ดังนั้นคุณแม่อาจไม่สามารถทนอดกลั้นน้ำตากับหนังโศกเศร้าเคล้าน้ำตาได้ โดยไม่ปล่อยโฮออกมา

พัฒนาการการตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 21

ระยะที่สาม (สัปดาห์ที่26-40)

ในระยะนี้ น้ำหนักของคุณแม่จะขึ้น 0.5-1 กิโลกรัมต่ออาทิตย์จนกว่าจะเข้าสัปดาห์ที่ 36 หรือ37 ทารกจะเพิ่มน้ำหนักขึ้นมาอีก 3 ใน 4 ของน้ำหนักตัว เพราะฉะนั้นน้ำหนักของคุณแม่จะเพิ่มขึ้นระหว่าง 10-12 กิโลกรัม

เนื่องจากช่วงท้องที่มีการขยาย ร่างกายของคุณแม่จะเสียสมดุลย์ ทำให้เกิดอาการปวดหลัง การบวมของเส้นเลือดดำ อาการเจ็บบริเวณขาหนีบ หายใจสั้น และอาการเหนื่อยล้า ถือเป็นอาการปกติในช่วงระยะสุดท้ายของการ “ตั้งครรภ์” การพักผ่อนที่เพียงพอ สวมใส่เสื้อผ้ารองเท้าที่สวมใส่สบายและการออกกำลังเบาๆ เป็นสิ่งสำคัญในระหว่างการตั้งครรภ์ระยะนี้  เนื่องด้วยว่าคุณแม่จะเริ่มรู้สึกไม่ค่อยสบายเนื้อสบายตัว อาจทำให้คุณแม่ได้รับการพักผ่อนไม่เพียงพอเท่าที่ควร พยายามชดเชยโดยการหาเวลางีบในระหว่างวัน และหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำก่อนนอนเพื่อจะได้ไม่ต้องตื่นมาใช้ห้องน้ำในตอนกลางคืนบ่อยๆ

พอถึงสัปดาห์ที่ 36 คุณแม่ต้องเริ่มเตรียมตัวสำหรับการคลอด เตรียมของใช้ที่จำเป็นสำหรับเด็กทารกให้พร้อมกับที่วางแผนไว้ ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคขวดนม ระหว่างช่วงก่อนคลอดนี้ ร่างกายของคุณแม่จะรู้สึกถึงการบีบรัดที่เพิ่มขึ้น หน้าอกของคุณแม่จะเริ่มปรับตัวสำหรับเด็กแรกเกิด และเริ่มมีน้ำนมไหลออกมา

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ : เมนูอาหารเพิ่มภูมิคุ้มกันหลังคลอด 6 สูตร ประโยชน์ครบสำหรับคุณแม่ในช่วงอยู่ไฟ

ทางเลือกเพื่อสุขภาพที่ดี

ควร:

  • รับประทานวิตามินสำหรับหญิง “ตั้งครรภ์”
  • รักษาน้ำหนักให้คงที่
  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
  • หาวิธีคลายเครียด
  • พบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายก่อนคลอด
  • ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับยาที่รับประทาน

ไม่ควร:

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
  • สูบบุหรี่
  • ดื่มแอลกอฮอล์
  • เสพยาเสพติด
  • รับประทานอาหารที่ไม่ผ่านการทำให้สุก หรือ ไข่ที่ไม่สุก

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

ท้องแล้ว ควรฝากครรภ์เมื่อไหร่ดี?

10 คำถามกับโครงการฝากครรภ์ฟรี ให้หญิงตั้งครรภ์ไทยทุกคน

รวมแพ็คเกจฝากครรภ์ ปี 2564

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Thailand Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ท้องทําไงดี ตั้งครรภ์แล้ว ทำไงต่อล่ะ ต้องดูแลอะไรบ้าง เรามีคำตอบ
แชร์ :
  • 4 ข้อคิด ก่อนตัดสินใจเลือกฝากท้องครั้งแรก

    4 ข้อคิด ก่อนตัดสินใจเลือกฝากท้องครั้งแรก

  • วิธีการดูแลตัวเองเมื่อ "ตั้งครรภ์" โดยไม่ต้องพึ่งยา

    วิธีการดูแลตัวเองเมื่อ "ตั้งครรภ์" โดยไม่ต้องพึ่งยา

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 4 ข้อคิด ก่อนตัดสินใจเลือกฝากท้องครั้งแรก

    4 ข้อคิด ก่อนตัดสินใจเลือกฝากท้องครั้งแรก

  • วิธีการดูแลตัวเองเมื่อ "ตั้งครรภ์" โดยไม่ต้องพึ่งยา

    วิธีการดูแลตัวเองเมื่อ "ตั้งครรภ์" โดยไม่ต้องพึ่งยา

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ