TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เช็คด่วน! รูเล็กๆข้างหูของลูก สัญญาณร้ายที่ไม่ควรมองข้าม

บทความ 3 นาที
เช็คด่วน! รูเล็กๆข้างหูของลูก สัญญาณร้ายที่ไม่ควรมองข้าม

คุณพ่อคุณแม่เคยสังเกตบริเวณข้างหูของลูกน้อยว่ามีรูเล็กๆ หรือสิ่งผิดปกติหรือไม่ รูเล็กๆข้างหูลูก เป็นสัญญาณอะไร เกิดจากอะไร และจะรักษาอย่างไร

รูเล็กๆข้างหูลูก คืออะไร?

รูเล็กๆข้างหูลูก หรือที่เรียกกันว่า Preauricular sinus เป็นลักษณะหนึ่งของความผิดปกติแต่กำเนิด โดยจะพบรูขนาดเล็กอยู่ที่หน้าใบหูของเด็ก รูเปิดที่ผิวหนังนั้นจะมีลักษณะกลมเล็ก ขนาด 1 – 2 มิลลิเมตร โดยมักจะมีโอกาสพบได้ 0.3 – 0.5% ในเด็กทั้งหมด จากรูจะมีเส้นเล็กๆ ใต้ผิวหนังลึกลงไปในเนื้อเยื่อหน้าหู ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดปัญหาการได้ยินของเด็กได้

รูใกล้ใบหู หรือ Preauricular sinus นี้เกิดจากความผิดพลาดระหว่างที่หูกำลังเจริญเติบโตตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ์ช่วง 5 – 6 สัปดาห์หลังปฏิสนธิ ซึ่งจะพบได้เมื่อเด็กคลอดออกมา บางครั้งก็อาจพบความผิดปกติอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น มีรอยบุ๋มหรือมีติ่งเนื้อเกิดขึ้นได้

รูเล็กๆข้างหูลูก

รูเล็กๆข้างหูลูก เป็นสัญญาณบอกอะไร

หากพบว่าเด็กมีรูใกล้ใบหู หรือ Preauricular sinus ก็อาจส่งผลร้ายแรงถึงขั้นสูญเสียการได้ยิน รวมถึงอาจเกิดความผิดปกติในหูชั้นนอก รวมถึงหูชั้นกลางและหูชั้นใน โดยเด็กที่มีรูดังกล่าว 8 ใน 1,000 คนจะมีปัญหาการได้ยิน ในขณะที่เด็กที่ไม่มีรูดังกล่าวมีความเสี่ยง 1.5 จาก 1,000 อย่างไรก็ตาม เมื่อเด็กเกิดมา ควรมีการตรวจสอบการได้ยิน และหากพบความปกติ ควรปรึกษาแพทย์ เพื่อการรักษาอย่างใกล้ชิด

รูเล็กๆข้างใบหู อันตรายหรือไม่

รูใกล้ใบหูที่เกิดขึ้นนั้นจะไม่หายไปเอง โดยรูดังกล่าวอาจพัฒนากลายเป็นซีสต์ อาจมีการติดเชื้อ อาการแดง ปวด บวม หากพบความปกติ ควรปรึกษาแพทย์ หรือศัลยแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัย และรับการรักษาโดยการผ่าตัดเนื้อที่ติดเชื้อออกไปโดยเร็ว

การรักษา

หากเด็กมีรูเล็กๆใกล้ใบหูโดยไม่มีอาการติดเชื้อ ก็อาจไม่จำเป็นต้องให้การรักษาแต่อย่างใด ยกเว้นจะทำเพื่อความสวยงามหรือรูนั้นมีน้ำไหลออกมาและสร้างความรำคาญอย่างมากต่อผู้ป่วย แต่หากเกิดการติดเชื้อ ต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดเพื่อเลาะเอาส่วนของท่อทั้งหมดออกเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

ที่สำคัญที่สุดคือ คุณพ่อคุณแม่ต้องคอยหมั่นสังเกตความผิดปกติต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับลูกน้อยอยู่เสมอ หามีอะไรผิดสังเกต ควรรีบพาลูกไปพบคุณหมอ เพื่อเข้ารับการตรวจรักษาได้อย่างทันท่วงที


ที่มา verywell.com

ภาพประกอบจาก mdmag.com

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
ครบจบทุกการดูแล! Baby Sebamed 4 ไอเทมคู่ใจคุณแม่ ปกป้องผิวลูกน้อยตั้งแต่แรกเกิด
ครบจบทุกการดูแล! Baby Sebamed 4 ไอเทมคู่ใจคุณแม่ ปกป้องผิวลูกน้อยตั้งแต่แรกเกิด
นมสูตร 3 ยี่ห้อไหน? คือที่สุด...ตัวเลือกเหนือระดับเพื่อเด็กเจนใหม่ สมองไวได้มากกว่า
นมสูตร 3 ยี่ห้อไหน? คือที่สุด...ตัวเลือกเหนือระดับเพื่อเด็กเจนใหม่ สมองไวได้มากกว่า
Ask The Expert คุณแม่ถาม คุณหมอตอบ ลูกปลอดภัย ไกลยุงร้าย ง่ายนิดเดียว
Ask The Expert คุณแม่ถาม คุณหมอตอบ ลูกปลอดภัย ไกลยุงร้าย ง่ายนิดเดียว
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้

วิธีง่ายๆ ช่วยให้ลูกฟื้นไข้ใน 5 นาที

ผมและขนเด็กแรกเกิด ดูแลอย่างไร ขนดกแบบนี้เป็นสัญญาณอะไรหรือไม่

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เช็คด่วน! รูเล็กๆข้างหูของลูก สัญญาณร้ายที่ไม่ควรมองข้าม
แชร์ :
  • วันแรกที่พาลูกกลับบ้าน สิ่งที่หมอบอก VS สิ่งที่แม่ต้องเรียนรู้เอง

    วันแรกที่พาลูกกลับบ้าน สิ่งที่หมอบอก VS สิ่งที่แม่ต้องเรียนรู้เอง

  • เสียง White Noise แบบไหน ทารก ชอบที่สุด? ช่วยลูกหลับง่าย ไม่ต้องอุ้มกล่อมเป็นชั่วโมง

    เสียง White Noise แบบไหน ทารก ชอบที่สุด? ช่วยลูกหลับง่าย ไม่ต้องอุ้มกล่อมเป็นชั่วโมง

  • ครบจบทุกการดูแล! Baby Sebamed 4 ไอเทมคู่ใจคุณแม่ ปกป้องผิวลูกน้อยตั้งแต่แรกเกิด
    บทความจากพันธมิตร

    ครบจบทุกการดูแล! Baby Sebamed 4 ไอเทมคู่ใจคุณแม่ ปกป้องผิวลูกน้อยตั้งแต่แรกเกิด

  • วันแรกที่พาลูกกลับบ้าน สิ่งที่หมอบอก VS สิ่งที่แม่ต้องเรียนรู้เอง

    วันแรกที่พาลูกกลับบ้าน สิ่งที่หมอบอก VS สิ่งที่แม่ต้องเรียนรู้เอง

  • เสียง White Noise แบบไหน ทารก ชอบที่สุด? ช่วยลูกหลับง่าย ไม่ต้องอุ้มกล่อมเป็นชั่วโมง

    เสียง White Noise แบบไหน ทารก ชอบที่สุด? ช่วยลูกหลับง่าย ไม่ต้องอุ้มกล่อมเป็นชั่วโมง

  • ครบจบทุกการดูแล! Baby Sebamed 4 ไอเทมคู่ใจคุณแม่ ปกป้องผิวลูกน้อยตั้งแต่แรกเกิด
    บทความจากพันธมิตร

    ครบจบทุกการดูแล! Baby Sebamed 4 ไอเทมคู่ใจคุณแม่ ปกป้องผิวลูกน้อยตั้งแต่แรกเกิด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว