X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่

บทความ 5 นาที
บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่

บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่

บาดแผลในวัยเด็ก คืออะไร ทำไมเรื่องแย่ที่เกิดขึ้นในชีวิตตอนเด็ก ส่งผลกระทบตอนเป็นผู้ใหญ่ แล้วอย่างนี้ บาดแผลในวัยเด็ก จะสามารถหายไปได้หรือไม่

บาดแผลในวัยเด็กทำให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ได้

บาดแผลในวัยเด็ก

บาดแผลในวัยเด็ก

คำพูดที่บอกว่า หยุดโทษพ่อแม่ของคุณ เมื่อคุณโต ความผิดพลาดของคุณ เกิดจากตัวคุณเอง และการที่โตขึ้น การให้อภัยเป็นสิ่งสำคัญ

คนบางคนอาจได้รับบาดแผลในวัยเด็ก ทำให้ส่งผลกระทบต่อความทรงจำในชีวิตประจำวัน และการที่เราโตขึ้น มันอาจจะกระตุ้น ให้ทุกคน มีความรับผิดชอบมากขึ้น ให้รู้จักรับผิดชอบงานต่าง ๆ และหลีกเลี่ยงการพึ่งพาคนอื่น

เรื่องพวกนี้ มันอาจจะทำให้รู้สึกว่า เรื่องราวในวัยเด็กนั้นเจ็บปวด บางครั้งพ่อแม่อาจทำให้ลูกรู้สึกแย่ หรือเกิดแง่ลบในเรื่องที่เกิดขึ้น และอาจเป็นเรื่องราวที่เศร้าที่สุดในชีวิต

แต่นั่น ก็ไม่ได้หมายความว่า มีแค่คนกลุ่มนี้ที่มีความทรงจำที่เจ็บปวด แต่ก็ยังมี ผู้คนที่ผิดกฎหมาย ที่พวกเขาได้รับความรุนแรง หรือความบาดเจ็บ ในช่วงที่พวกเขาเป็นวัยเด็กเหมือนกัน

บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง : เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ตกเป็นเหยื่อความรุนแรง

Advertisement

พฤติกรรมในการสอนลูกที่ดีที่สุดคืออะไร 

พฤติกรรมที่พ่อแม่สอนลูก ที่ดีที่สุด คือ การเลี้ยงดู มีพฤติกรรมที่แสดงกับลูกที่ดี รวมถึงนิสัยของพ่อแม่ที่เป็นแบบอย่างที่ดี ที่จะสั่งสอนลูกในวัยเด็ก หากพ่อแม่ แสดงพฤติกรรมไม่ดี อาจจะส่งผลกระทบต่อลูก และทำให้ลูกเลียนแบบได้

บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง : เลี้ยงลูกแบบไม่ดุ ได้ผลดีกว่า ทำไมการเลี้ยงลูกแบบเข้าใจถึงเป็นทางที่ดีกว่า

พ่อแม่ไม่ควรทำร้ายลูกทางอ้อม 

บาดแผลในวัยเด็ก

บาดแผลในวัยเด็ก

  • ไม่ให้ลูกทำงานบ้าน 

การที่พ่อแม่ไม่ให้ลูกทำงานบ้าน เพราะเห็นว่าลูกยังเด็กอยู่ และถ้าถามตัวลูกเองว่าโกรธหรือไม่ ที่ไม่ให้ทำงานบ้าน ลูกก็คงตอบว่า ไม่ แต่การที่พ่อแม่ ไม่ให้ทำงานบ้าน ที่เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน อาจส่งผลให้ เขาไม่มีวินัย เมื่อลูกโตขึ้นได้

  • ไม่แสดงอารมณ์ความรู้สึกให้ลูกเห็น 

การที่พ่อแม่ ไม่แสดงอารมณ์ความรู้สึกอะไรออกมา ไม่มีการบอกรักลูก กอดลูก อาจส่งผลต่อพัฒนาการ และทำให้ลูกไม่รับรู้ หรือแสดงอารมณ์อะไรออกมา เมื่อโตขึ้น อาจเป็นคนเก็บกด ไม่กล้าพูด

  • ให้ความสำคัญทางการเงินมากกว่าครอบครัว 

คุณพ่อคุณแม่บางท่าน อาจจะเจอเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อชีวิต หรืออยู่ตัวคนเดียวมาโดยตลอด พอมีลูกก็ไม่ให้ความสนใจ หรือความสำคัญกับลูก มุ่งหน้าหาแต่เงินอย่างเดียว อาจจะส่งผลให้ลูกขาดความอบอุ่น และเป็นเด็กมีปัญหาเมื่อโตขึ้นได้

  • ควรให้ลูกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ 

ในช่วงที่ลูกเป็นเด็ก คุณพ่อคุณแม่ควรให้ลูกกินอาหารที่ดีต่อ และมีประโยชน์ต่อสุขภาพ เพราะหากไม่ได้กินอาผัก ผลไม้ ที่มีประโยชน์ จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของลูกได้

หากเราทุกคนได้รับบาดเจ็บ ได้รับผลกระทบจากการเลี้ยงดู ผลกระทบเหล่านี้ จะทำให้ดำเนินชีวิตไปได้อย่างไร เพราะผลกระทบที่เกิดขึ้น ไม่ได้หายไป เมื่อเราอายุมากขึ้น บางสิ่งบางอย่างที่เราเคยเจอมา ก็จะติดตัวเราไปตลอดชีวิต ถึงจะเข้ารับการบำบัดหลายปี ก็ไม่ได้หลายไปซะทีเดียว หากมีวัยเด็กคนใดคนหนึ่งไปเกี่ยวข้องกับบางสิ่ง ที่ทำให้ส่งผลกระทบต่อจิตใจในแง่ลบ ก็เป็นไปได้สูงว่า ผลกระทบนี้ส่งผลยาวนาน หรืออาจถาวร

อะไรคือการบาดเจ็บ ? 

ความเจ็บปวดในวัยเด็ก คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงแค่ความเจ็บปวดทั่วไป มากกว่าการถูกทำร้ายร่างกาย แต่ความจริงแล้ว มีหลายรูปแบบ และอาจมีผลกระทบที่แตกต่างกันไป อาจดูเหมือนเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ความเจ็บปวด มันเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นเวลานาน

The Amygdala ศูนย์รักษาสมองแห่งความกลัว คือ การกระตุ้นสมองให้เกิดความกลัว การที่กระตุ้นมากเกินไปนั้น จะทำให้ระบบสมองสั่งการให้คิดเองว่า ควรจะกลัว แม้ไม่ได้มีอันตรายอะไร และในทางกลับกัน การกระตุ้นสมองมาก ๆ จะทำให้ เยื่อหุ้มสมองส่วนหน้า ทำงานได้ช้าลง และทำให้ลดความสามารถในการตัดสินใจ และการจัดระเบียบความคิด และเมื่อเวลาผ่านไป ส่วนของสมองที่ควบคุมอารมณ์ จะกลายเป็นความผิดปกติ ส่งผลให้ มีอารมณ์ที่รุนแรงเกินไป

บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง : 19 ความกลัวแปลก ๆ ของเจ้าตัวเล็ก

เคสตัวอย่าง การกระตุ้นสมองของแต่ละคน ส่งผลแตกต่างกันอย่างไร 

บาดแผลในวัยเด็ก

บาดแผลในวัยเด็ก

  • การกระตุ้นสมอง ผ่านการรรับรู้จากกลิ่นกัญชา 

ส่งผลทำให้ จิตใต้สำนึก นึกถึงแม่ ที่ละเลยการเลี้ยงดูในวัยเด็ก และได้รับการบำบัดหลายปี แต่เมื่อเป็นผู้ใหญ่ ก็พบว่า ต้องผ่านพ้นเรื่องราวพวกนี้ และใช้ชีวิตต่อไปให้ได้

  • เปรียบเสมือนการกระแทกประตู 

บาดแผลในวัยเด็ก ที่ต้องเจอ เหมือนเสียงกระแทกประตู ที่สะเทือนใจ และตกใจกลัว มาโดยตลอด

  • เปรียบเสมือนความเงียบ 

เพราะไม่ได้รับรู้ อารมณ์ความรู้สึก ของครอบครัว ที่มอบให้เขาในวัยเด็ก ทำให้เขาเจอแต่ความเงียบ ไม่หัวเราะ เหมือนเด็กคนอื่น ๆ

แม้จะผ่านการบำบัดมานานเท่าไหร่ สมองก็ยังจดจำเรื่องราวต่าง ๆ ที่ผ่านมาในชีวิตได้ ถึงจะเข้าสู่ช่วงวัยผู้ใหญ่ และเริ่มที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ กับการรับมือกับเรื่องราวความเจ็บปวด ที่ผ่านมา แต่ก็ยังปิดกั้นตัวเองอยู่เสมอ

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

เพราะความเจ็บปวดที่ได้รับมาตั้งแต่เด็ก ” หยุดโทษพ่อแม่ของคุณ ที่เขาทำอะไรกับคุณ ” ไม่มีประโยชน์อะไร และคุณเองก็อาจจะ ไม่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพราะสิ่งที่คุณเห็น เป็นเพียงแค่เรื่องพื้นผิว ต่างกับสิ่งที่พวกเขาเจอ เพราะคุณไม่รู้ว่า พวกเขาทำได้ดีแค่ไหน

ที่มา :psychcentral

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Nanticha Phothatanapong

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่
แชร์ :
  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว