X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

น้ําหนักทารกแรกเกิด ควรหนักเท่าไหร่? จึงจะเรียกว่าปกติ

บทความ 5 นาที
น้ําหนักทารกแรกเกิด ควรหนักเท่าไหร่? จึงจะเรียกว่าปกติ

น้ําหนักทารกแรกเกิด ถือว่าเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ใครหลายคนมักต้องการทราบอยากจะรู้กัน เพราะว่าขนาดนั้นน้ำหนักของเด็กแรกเกิดนั้นแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 1 ขวบ ดังนั้นเรามาดูกันดีกว่า น้ำหนักทารกแรกเกิด ในความเป็นจริงแล้ว พวกเขาควรมีน้ำหนักอยู่ที่เท่าไหร่กัน

 

น้ำหนักทารกแรกเกิด ควรมีเท่าไหร่

เรื่องน้ำหนักของเจ้าตัวเล็กแรกเกิด จนถึงอายุ 1 ปี เป็นเรื่องที่คุณแม่ ให้ความสำคัญเป็นอันดับต้น ๆ เพราะ ถ้าน้ำหนักลูกน้อย ก็จะส่งต่อพัฒนาการเติบโต ของลูกน้อยได้ด้วย ซึ่งโดยปกติทารกในวัยแรกเกิด ที่คลอดตามปกติ ที่ไม่ได้คลอดก่อนกำหนด จะมีน้ำหนักตัว เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 3,000 กรัม หรือ 3 กิโลกรัม แต่ก็มีทารกจำนวนจำนวนไม่น้อย ที่มีน้ำหนักตัวถึง 4,000 กรัม ดังนั้น เกณฑ์ปกติของน้ำหนักตัวทารกแรกเกิด จึงอยู่ประมาณ 3,000 – 4,000 กรัม สำหรับทารกที่คลอดก่อนกำหนด โดยมากจะมีน้ำหนักตัวไม่ถึง 3,000 กรัม แต่คุณแม่ ไม่ต้องกังวลนะคะ เมื่อเติบโตขึ้นน้ำหนักตัวของลูก ก็จะเพิ่มจนเทียบเท่ากับเด็กทั่วไปได้ จึงเกิดเป็นคำถามว่า ทารกแรกเกิดควรมีน้ำหนักเท่าไหร่ เรามาหาคำตอบกัน

บทความที่น่าสนใจ : เช็คไปพร้อมกัน! นำ้หนักทารก 1-10 สัปดาห์ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของเด็ก

 

ทารกแรกเกิดควรมีน้ำหนักเท่าไหร่

 

Advertisement

น้ำหนักทารกแรกเกิด – 3 เดือน

จากน้ำหนักตัวหลังจากแรกเกิด ทารกจะมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ย 700 – 800 กรัม ต่อเดือน จนเมื่อ ลูกมีอายุครบ 3 เดือน น้ำหนักตัวลูก ควรจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2,100 – 2,400 กรัม นับจากตอนแรกเกิด แต่เด็กบางคนก็อาจมีน้ำหนักตัวมาก หรือน้อยกว่าเกณฑ์ได้

 

น้ำหนักทารกวัย 4-6 เดือน

น้ำหนักตัวลูกในช่วงนี้ จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ย แต่ละเดือน ประมาณ 500 – 600 กรัม ต่อเดือน ซึ่งจะน้อยกว่าในช่วง 3 เดือนแรก แต่ถ้า ลูกมีน้ำหนักตัวเพิ่มมากกว่าเกณฑ์ในช่วงนี้ เป็นไปได้ว่า ลูกกินเยอะเป็นพิเศษหรือเปล่า

 

ทารก

 

น้ำหนักทารกวัย 7-9 เดือน

น้ำหนักตัวลูกในช่วงนี้จะเพิ่มขึ้น เฉลี่ยเดือนละ 400 กรัมต่อเดือน อาจบวกลบกว่านี้ นิดหน่อย

บทความที่น่าสนใจ : วิธีวัดการเจริญเติบโตของทารก ชั่งน้ำหนักทารก วัดความยาวทารก วัดเส้นรอบศีรษะลูก

 

ทารกแรกเกิดควรมีน้ำหนักเท่าไหร่

 

น้ำหนักทารกวัย 9-12 เดือน

ในช่วงนี้ น้ำหนักตัวของลูก จะเพิ่มเฉลี่ยเหลือเพียง เดือนละประมาณ 300 กรัม ต่อเดือน

 

น้ำหนักทารกวัย 1  ขวบ

พอเข้าสู่วัย 1 ขวบ ลูกจะมีน้ำหนักตัวขยับเพิ่มขึ้น เพียงเดือนละ 200 กรัม ซึ่งเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง ที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัวของเจ้าตัวน้อย ที่เพิ่มหรือลดในแต่ละเดือน เช่น

  • พฤติกรรมการกินอาหารของลูก
  • อาการไม่สบายหรือเจ็บป่วย
  • พันกำลังขึ้น
  • การชั่งน้ำหนักหลังถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ หรือเปลี่ยนใส่ผ้าอ้อมสำเร็จรูป

ในกรณีที่น้ำหนักตัวลูก น้อยกว่าเกณฑ์ปกติเล็กน้อย แต่ เจ้าตัวเล็กยังสามารถกินนม นอนหลับได้ตามปกติทุกวัน ร่าเริง หรือ ไม่ส่งสัญญาณเจ็บป่วยใด ๆ คุณแม่ยังไม่ต้องวิตกกังวล มากเกินไปนะค่ะ แต่ถ้าหากต่ำกว่าเกณฑ์มาก ๆ อาจจะต้องไปพบ คุณหมอเพื่อขอรับคำแนะนำนะคะ

 

ทารกแรกเกิดควรมีน้ำหนักเท่าไหร่

 

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและ สังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุด ในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการทารก ตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและ ผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และ สื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่ และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และ จิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 

พ่อแม่รู้ไหม การขลิบ เป็นอันตรายได้ การขลิบมีผลต่อ การติดเชื้อเริมในทารกแรกเกิด 

Update!! ของใช้เด็กแรกเกิด น่าซื้อช่วงสิ้นปี พ่อจ๋าพาแม่ไปช้อปรัว ๆ เพื่อเตรียมตัวต้อนรับเบบี๋ ในยุค New Normal กันเถอะ

วิธีกระตุ้นสมอง ทารกแรกเกิด เคล็ดลับความฉลาด ของเด็กที่พ่อแม่ช่วยได้!

ที่มา : healthline

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ทารก
  • /
  • น้ําหนักทารกแรกเกิด ควรหนักเท่าไหร่? จึงจะเรียกว่าปกติ
แชร์ :
  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว