TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทารกมีตกขาว อันตรายหรือไม่?

บทความ 3 นาที
ทารกมีตกขาว อันตรายหรือไม่?

คุณพ่อคุณแม่หลายท่านอาจจะมีความสงสัยว่าทำไมลูกน้อยถึงมีตกขาว หรือมีเลือดไหลเหมือนมีประจำเดือน แล้วอาการแบบนี้อันตรายไหม ผิดปกติหรือไม่ วันนี้เรามีบทความเรื่อง ทารกมีตกขาว มาฝากครับ

ทารกมีตกขาว เพราะอะไร

สาเหตุที่ ทารกมีตกขาว นั้นเกิดจากการที่ฮอร์โมนของคุณแม่ระหว่างตั้งครรภ์เพิ่มสูงขึ้น  โดยเฉพาะฮอร์โมนเอสโตรเจน

ฮอร์โมนเอสโตรเจนจากคุณแม่ สามารถส่งผ่านทางรก ไปสู่ตัวลูกน้อยได้ โดยที่ในเด็กแรกเกิดนั้นตับยังทำการสลายฮอร์โมนได้ไม่ดีพอ ทำให้ในช่วงแรกคลอดเด็กบางคนที่ได้รับฮอร์โมนมาก หรือร่างกายตอบสนองต่อฮอร์โมน จะมีร่างกายเหมือนวัยสาว กล่าวคือ ช่องคลอดอาจจะมีสีคล้ำขึ้น มีตกขาว หรือมีเลือดออกได้

ตกขาวที่เกิดขึ้นนั้นมักจะมีลักษณะขุ่น ข้น มีสีขาวเทาหรืออาจมีมีสีออกเหลือง และบางครั้งอาจจะมีสีออกแดงๆคล้ายประจำเดือน

คุณพ่อคุณแม่หลายท่านอาจจะมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการที่ ทารกมีตกขาว กลัวว่าลูกจะเป็นอันตราย แต่จริงๆแล้ว อาการตกขาวในเด็กทารกนั้นเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นได้ และไม่ได้ส่งผลร้ายอะไรกับลูกน้อยครับ

โดยทั่วไปแล้วอาการเหล่านี้จะหายไปเมื่อลูกน้อยมีอายุได้ราวๆ 10 วัน หรือบางรายอาจจะนานกว่านั้น ขึ้นอยู่กับว่าร่างกายของทารกจะกำจัดฮอร์โมนที่ได้จากคุณแม่เมื่อไหร่

ทารกบางคนที่ได้รับฮอร์โมนเยอะ ๆ อาจมีเต้านมโต เต้านมมีก้อน มีเต้านมนิ่ม ๆ แนะนำคุณพ่อคุณแม่ว่าไม่ต้องไปทำอะไร เพราะประมาณหนึ่งเดือนก็จะยุบเป็นปกติครับ

ทารกมีตกขาว

ทารกมีตกขาว ควรทำอย่างไร

คุณพ่อคุณแม่สามารถทำความสะอาดลูกน้อยเมื่อมีตกขาวโดยการใช้ผ้าเปียกค่อยๆเช็ดเบาๆ เช็ดจากด้านหลังไปด้านหน้า บางครั้งคุณอาจจะต้องเช็ดหลายรอบเพื่อให้มั่นใจว่าสะอาดแล้วจริงๆ

คุณควรทำความสะอาดบริเวณที่ลูกมีตกขาวด้วยการใช้ผ้าสะอาดชุบด้วยน้ำอุ่น และไม่ควรใช้สบู่ หรือน้ำยาทำความสะอาดอื่นๆนะครับ เพราะอาจจะทำให้ลูกน้อยเกิดอาการระคายเคืองได้

อย่างไรก็ตาม หากคุณพ่อคุณแม่พบว่าลูกน้อยมีอาการตกขาวเกินกว่า 2 สัปดาห์ และเริ่มมีกลิ่นเหม็น คุณพ่อคุณแม่ก็ควรรีบพาลูกน้อยไปพบแพทย์โดยเร็ว เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณของการติดเชื้อได้นะครับ


ที่มา verywell.com

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

ระยะสายตาทารก ห่างแค่ไหนถึงเห็นชัด

เคล็ดลับการให้นมลูกตอนกลางคืน ช่วยลูกหลับต่อสบาย

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ทารกมีตกขาว อันตรายหรือไม่?
แชร์ :
  • ลูกชอบจับจู๋ จับจิ๋ม ผิดปกติไหม? พ่อแม่ควรรับมือยังไงดี?

    ลูกชอบจับจู๋ จับจิ๋ม ผิดปกติไหม? พ่อแม่ควรรับมือยังไงดี?

  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

powered by
  • ลูกชอบจับจู๋ จับจิ๋ม ผิดปกติไหม? พ่อแม่ควรรับมือยังไงดี?

    ลูกชอบจับจู๋ จับจิ๋ม ผิดปกติไหม? พ่อแม่ควรรับมือยังไงดี?

  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว