X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ระยะสายตาทารก ห่างแค่ไหนถึงเห็นชัด

บทความ 3 นาที
ระยะสายตาทารก ห่างแค่ไหนถึงเห็นชัด

คุณพ่อคุณแม่เคยสังเกตปฎิกิริยาของลูกน้อยเวลาที่เราทำหน้าตาประหลาดๆตอนเล่นกับเค้ากันบ้างไหมครับ

ระยะห่างเท่าไร เด็กแรกเกิดจึงจะมองเห็นคุณชัด

เว็บไซต์ Bright Side ได้เปิดเผยข้อมูลของคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย ออสโล ประเทศนอร์เวย์ และมหาวิทยาลัยอุปซอลา ประเทศสวีเดน ที่ได้ทำการวิจัยเด็กทารกหลังจากคลอดได้ 2 – 3 วัน เกี่ยวกับ ระยะการมองเห็น

ระยะการมองเห็น 1

ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าระยะทางที่เด็กแรกเกิดจะสามารถมองเห็นและสังเกตความแตกต่างของอารมณ์ที่แสดงออกทางสีหน้าเช่นยิ้มหรือทำหน้าบึ้งได้จะอยู่ที่ระยะ 30 เซนติเมตร และหากเพิ่มระยะทางไปเป็น 60 เซนติเมตรหรือมากกว่านั้น เด็กจะมองเห็นเป็นภาพเบลอและไม่สามารถแยกความแตกต่างของอารมณ์ที่แสดงออกทางสีหน้าได้ครับ

วิธีการทดสอบของนักวิทยาศาสตร์

นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการบันทึกวีดีโอที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ของใบหน้า และได้ทำการเปิดภาพที่ถ่ายไว้ให้ผู้ใหญ่ดูก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าสีหน้าที่บันทึกไว้นั้นง่ายต่อการแยกแยะ

หลังจากนั้นจึงให้เด็กแรกเกิดดูภาพชุดเดิม โดยคณะนักวิจัยจะใช้ปฏิกิริยาของเด็กแรกเกิดเมื่อเด็กได้เห็นภาพ เป็นตัวบ่งชี้ความสามารถในการมองเห็น ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว เด็กแรกเกิดจะมีการตอบสนองต่อภาพที่เห็นระยะระหว่าง 30 เซนติเมตรและหากมีระยะที่ใกล้กว่านั้น เด็กก็จะมีอัตราการตอบสนองมากขึ้น

ลูกน้อยเห็นอะไรกันนะ

Advertisement

ลูกมองเห็น

 

ศาสตราจารย์ Svein Magnussen ได้ให้ความเห็นไว้ว่า เด็กแรกเกิดนั้นสามารถรับรู้ได้ถึงความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ของผู้ใหญ่ตั้งแต่วันแรกที่ลืมตาดูโลก แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่า เด็กน้อยจะเข้าใจและรับรู้ว่าสีหน้าต่างๆที่ผู้ใหญ่แสดงออกมานั้นหมายถึงอะไร

หากคุณพ่อคุณแม่อยากให้ลูกน้อยเห็นหน้าคุณชัดๆ ก็ลองก้มลงมาใกล้ๆเจ้าตัวน้อยอีกสักนิดดูสิครับ

 

ที่มา brightside.me, telegraph.co.uk

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

4 เรื่องร้าย สาเหตุสายตาเสียของคุณและลูกน้อย

5 อาหารว่างมีประโยชน์ สำหรับคุณแม่ที่ต้องให้นมลูก

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ระยะสายตาทารก ห่างแค่ไหนถึงเห็นชัด
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว