X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

คุณแม่ตั้งครรภ์ น้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้นเท่าไหร่

บทความ 3 นาที
คุณแม่ตั้งครรภ์ น้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้นเท่าไหร่

การมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นถือเป็นเรื่องปกติอย่างหนึ่งของการตั้งครรภ์ และเป็นสัญญาณการเปลี่ยนแปลงที่คุณแม่ตั้งครรภ์จะสังเกตเห็นได้ตลอดการตั้งครรภ์ทั้ง 9 เดือน ซึ่งคุณแม่ท้องมือใหม่ส่วนใหญ่มักจะเกิดความสงสัยขึ้นว่าน้ำหนักตัวคุณแม่ควรจะเพิ่มขึ้นเท่าไหร่จึงจะเหมาะสมสำหรับลูกน้อยในครรภ์ และไม่ทิ้งน้ำหนักค้างที่ตัวคุณแม่หลังคลอดมากมาย มาดูกันดีกว่าค่ะว่าน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์นี้ประกอบไปด้วยอะไรกันบ้าง

ตลอด 9 เดือน น้ำหนักของคุณแม่จะเพิ่มขึ้นมาประมาณ 10-15 กิโลกรัม ซึ่งจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นทีละนิดๆ ค่ะ น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นนี้ แบ่งเป็น

  1. ตัวของทารก 3,300 กรัม
  2. รก 680 กรัม
  3. น้ำคร่ำ 900 กรัม
  4. มดลูกที่ขยายขนาดขึ้น 900 กรัม
  5. เต้านมที่ขยายขนาดขึ้น 900 กรัม
  6. ไขมันและโปรตีนของตัวคุณแม่ 4,000 กรัม
  7. เลือด และน้ำในร่างกายของคุณแม่ที่เพิ่มปริมาณขึ้น 1,800 กรัม1

เพราะเมื่อมดลูกของคุณแม่ขยายใหญ่ขึ้น ก็ต้องการเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น นอกจากนี้ปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้นก็จะช่วยปกป้องคุณแม่ และเจ้าตัวน้อยในครรภ์จากการไหลเวียนของเลือดกลับเข้าหัวใจน้อยลงในท่านอนหงายและท่ายืน รวมทั้งยังช่วยป้องกันการเสียเลือดมากระหว่างการคลอด2 ด้วย ดังนั้นคุณแม่ควรดูแลร่างกายให้มากขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ ด้วยโฟเลทที่มีส่วนสำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง และธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง โฟเลทนั้นพบมากในตับ เนื้อสัตว์ ผักใบเขียวเข้ม ธัญพืช แม้อาหารเหล่านี้จะมีปริมาณโฟเลทสูงแต่โฟเลทนั้นจะสูญเสียได้ในการหุ้งต้ม ส่วนธาตุเหล็กจะพบมากในเลือด ตับ เนื้อสัตว์ ไข่แดง ผักใบเขียว และถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ และคุณแม่ยังสามารถบำรุงครรภ์แบบง่ายๆ เพียงดื่มนมก็จะได้รับโฟเลทเพียงพอกับความต้องการแล้วค่ะ3 นอกจากนั้นแล้วคุณแม่สามารถตรวจสอบได้ว่าคุณแม่ได้รับโฟเลทเพียงพอหรือไม่ จากการทำแบบทดสอบง่ายๆ ด้วยการคลิกตรงคำว่า “ทดสอบ” ที่รูปภาพด้านล่างนี้ได้เลยค่ะ

 

ทดสอบโฟเลท

 

ตอนนี้คุณแม่ก็ทราบแล้วว่าน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นมาตลอดการตั้งครรภ์ทั้ง 9 เดือนนั้นควรจะอยู่ที่ประมาณ 10-15 กิโลกรัม ซึ่งการจะมีน้ำหนักตัวให้เป็นไปตามมาตรฐานนั้น ต้องมาจากการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะโฟเลทและธาตุเหล็กที่คุณแม่ตั้งครรภ์ควรรับประทานอย่างสม่ำเสมอตลอดการตั้งครรภ์นะคะ

References

1รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์. คู่มือตั้งครรภ์และเตรียมคลอดสำหรับคุณแม่ยุคใหม่. หน้า 60.

2ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สูติศาสตร์. 2551. หน้า 11.

3ข้อความกล่าวอ้างหน้าที่ของสารอาหารที่มีในบัญชี Thai RDI

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • คุณแม่ตั้งครรภ์ น้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้นเท่าไหร่
แชร์ :
  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว