X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี แฮปปี้กันทั้งบ้าน

บทความ 3 นาที
เคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี แฮปปี้กันทั้งบ้านเคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี แฮปปี้กันทั้งบ้าน

อยากให้ลูกเป็นเด็กดี พ่อแม่ต้องเลี้ยงให้ถูกวิธี คอยดูแลใส่ใจและสอนสิ่งที่ดีให้เขา รวมทั้งเตือนตัวเองด้วยว่าอย่ากดดันลูกจนเกินไป

หัวใจหลักในการเลี้ยงลูกที่ดี คือ มองทุกอย่างจากมุมมองลูก เข้าใจความคิดและความรู้สึกของเด็กน้อยที่ยังไม่ประสีประสา ไม่ใช้อำนาจบังคับให้เขาทำทุกอย่างตามที่พ่อแม่ต้องการ

ถ้าทำตามหลักการนี้ คุณจะเป็นพ่อแม่ที่มีความสุข มีลูกน้อยที่ประพฤติตัวดี และมีชีวิตครอบครัวแสนสุขสันต์

เคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี

เคล็ดลั บสอนลูกเป็นเด็กดี

แค่ทำตามเคล็ดลับ 5 ข้อนี้

  1. อยู่ใกล้ชิดกับลูก

ลูก ๆ ต้องการให้พ่อแม่อยู่เคียงข้างเขาเสมอ แม้บางทีจะทำท่าไล่พ่อแม่ออกไปก็ตาม

ในยามที่ลูก ๆ สับสน อ่อนแอ เขาอยากให้พ่อแม่เป็นแหล่งพักพิงที่สงบและมั่นคงปลอดภัย

แต่ไม่ได้หมายความว่าต้องยอมลูกทุกอย่างนะคะ พ่อแม่ควรยอมรับให้ได้ว่าลูกเราบางครั้งก็ดี บางครั้งก็แย่ แต่ไม่ว่าลูกจะอยู่ในช่วงแย่ ๆ หรือทำสิ่งที่เราไม่ชอบใจแค่ไหน พ่อแม่ก็รักลูกอยู่ดี บอกความในใจข้อนี้ให้ลูกรับรู้ด้วยนะคะ

  1. คอยกำกับดูแลลูก

เคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี

เคล็ดลั บสอนลูกเป็นเด็กดี

แม้แต่เด็กน้อยวัยเตาะแตะก็ยังต้องรู้จักขอบเขตข้อควร/ไม่ควรทำ สังเกตนะคะ เด็กมักหันมามองผู้ใหญ่ก่อนเพื่อหยั่งเชิงว่าเขาจะทำอย่างนี้ได้ไหม หรือควรหยุดทำเมื่อไร

ถ้าไม่อยากให้ลูกเอื้อมหยิบผ้าเช็ดมือที่แขวนอยู่ ควรบอกลูกดี ๆ ว่า “อย่าดึงจ้ะ” ถ้าลูกยังดื้อไม่เชื่อฟังก็อธิบายเหตุผลด้วยว่า “ระวังราวแขวนจะตกลงมา แม่ไม่อยากเห็นหนูเจ็บตัว”

เด็ก ๆ มักชอบลองท้าทายอำนาจพ่อแม่ ถ้าพ่อแม่ใจเย็นพอ ไม่ตวาดขึ้นเสียงใส่ ลูกจะเคารพเชื่อฟังแต่โดยดี

อย่ากลัวว่าลูกจะโมโหถ้าถูกขัดใจ ควรเปิดโอกาสให้เขาเรียนรู้วิธีจัดการกับอาการโกรธบ้าง ถึงเขาจะโกรธพ่อแม่ แต่พ่อแม่จะยังรักและดูแลเขาอย่างดีเหมือนเดิม ถ้ารู้อย่างนี้เด็กจะยิ่งเพิ่มความไว้ใจในตัวพ่อแม่มากขึ้น

  1. ใช้ชีวิตอย่างมีแบบแผน

เคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี

เคล็ดลับสอนลูก เป็นเด็กดี

วางกรอบชีวิตประจำวันให้ลูก เช่น เปิดน้ำเป็นสัญญาณว่าถึงเวลาอาบน้ำแล้ว หลังอาบเสร็จก็ใส่ชุดนอน อ่านหนังสือ เตรียมเข้านอน เป็นต้น

กิจวัตรประจำวันไม่ใช่กฎตายตัว แต่เป็นตัวชี้แนะว่าลูกควรทำอะไรก่อนหลังในแต่ละวัน ไม่ใช่ทำตัวสะเปะสะปะไร้ทิศทาง

นอกจากนี้ เด็ก ๆ ควรเรียนรู้การปรับตัวเมื่อตารางชีวิตประจำวันเปลี่ยนไป ถ้าพ่อแม่อธิบายให้ลูกฟังว่า “เมื่อวันอาทิตย์เราไม่ได้กินข้าวเที่ยงในห้องตามปกติเพราะคุณตาคุณยายมาเยี่ยม แต่ตอนนี้เรากลับมาเข้าประจำที่เหมือนเดิมแล้ว” เด็กจะเข้าใจสถานการณ์และปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสม

  1. อยู่กับความเป็นจริง

เคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี

เคล็ ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี

อย่าคาดหวังในตัวลูกสูงเกินไป อยู่ ๆ ลูกอาจใส่ถุงเท้ารองเท้าเองได้ แต่อีกวันกลับใส่เองไม่เป็นซะแล้ว เดี๋ยวทำได้เดี๋ยวทำไม่ได้เป็นเรื่องปกติค่ะ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก

เราไม่สามารถควบคุมให้ลูกทำทุกอย่างได้ดังใจหวัง พัฒนาการลูกเราอาจเร็วบ้าง ช้าบ้าง ก็ค่อย ๆ ฝึกกันไปค่ะ

และจำไว้นะคะ ถึงลูกจะเริ่มทำอะไรด้วยตัวเองเป็นแล้ว แต่เขายังต้องการพ่อแม่อยู่เสมอนะคะ เด็กที่เดินได้แล้วบางครั้งก็ยังชอบให้พ่อแม่อุ้มเหมือนเดิมค่ะ

  1. อย่าใช้อดีตของคุณเป็นเกณฑ์ตัดสินลูก

ลูกเราไม่จำเป็นต้องถอดแบบมาจากเราเป๊ะ ๆ ถ้าเขามีพฤติกรรมหรือนิสัยบางอย่างไม่เหมือนคุณก็ไม่เป็นไรค่ะ

บทความจากพันธมิตร
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ  ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
เผยเคล็ดลับการเรียนออนไลน์ที่จะทำให้ลูกตั้งใจเรียนมากขึ้น!
เผยเคล็ดลับการเรียนออนไลน์ที่จะทำให้ลูกตั้งใจเรียนมากขึ้น!

คุณแม่คนหนึ่งเคยมีปัญหาเข้ากับเพื่อนไม่ได้ตอนเด็ก ๆ จึงกังวลเป็นพิเศษเรื่องที่ลูกชายวัย 2 ขวบครึ่งของเธอไม่ค่อยเข้าไปเล่นกับเด็กคนอื่น อคติที่บังตาทำให้เธอคิดเอาเองว่าลูกเธอกำลังกลัวว่าไม่มีใครชอบเขา

แต่จริง ๆ แล้ว ลูกคุณไม่ใช่ตัวคุณ เพราะฉะนั้นอย่าตัดสินลูกจากประสบการณ์เดิมของตัวคุณค่ะ

 

คุณพ่อคุณแม่คนไหนมีเทคนิคการเลี้ยงลูกดี ๆ มาแชร์ให้ฟังที่ช่องแสดงความคิดเห็นข้างล่างนี้ได้นะคะ

ที่มา : lovedbyparents.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

แบบอย่างที่ดีสอนลูกให้รู้จักเคารพซึ่งกันและกัน

สอนลูกให้เป็นเด็กใจบุญ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

ขวัญชนก ธนาภิกรกุล

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • เคล็ดลับสอนลูกเป็นเด็กดี แฮปปี้กันทั้งบ้าน
แชร์ :
  • พฤติกรรมเด็กที่ดี ต้องฝึกฝนอย่างไร เปลี่ยนเด็กดื้อให้เป็นเด็กดี

    พฤติกรรมเด็กที่ดี ต้องฝึกฝนอย่างไร เปลี่ยนเด็กดื้อให้เป็นเด็กดี

  • พ่อแม่รู้ไหม? แรงกระตุ้นทางบวก ช่วยให้ "ลูกเป็นเด็กดี มีความสุข"

    พ่อแม่รู้ไหม? แรงกระตุ้นทางบวก ช่วยให้ "ลูกเป็นเด็กดี มีความสุข"

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • พฤติกรรมเด็กที่ดี ต้องฝึกฝนอย่างไร เปลี่ยนเด็กดื้อให้เป็นเด็กดี

    พฤติกรรมเด็กที่ดี ต้องฝึกฝนอย่างไร เปลี่ยนเด็กดื้อให้เป็นเด็กดี

  • พ่อแม่รู้ไหม? แรงกระตุ้นทางบวก ช่วยให้ "ลูกเป็นเด็กดี มีความสุข"

    พ่อแม่รู้ไหม? แรงกระตุ้นทางบวก ช่วยให้ "ลูกเป็นเด็กดี มีความสุข"

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ