X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

รู้จักกับอาการปวดท้องระหว่างตั้งครรภ์

บทความ 3 นาที
รู้จักกับอาการปวดท้องระหว่างตั้งครรภ์

อาการปวดท้องระหว่างตั้งครรภ์ไม่ใช่สิ่งผิดปกติ และไม่ใช่สิ่งที่น่าวิตกกังวลแต่อย่างใด แต่บางครั้งอาการปวดท้องหรือ อาการปวดเกร็งอาจเป็นสัญญาณของอาการที่น่าเป็นห่วงบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากคุณมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย

 

ปวดท้องระหว่างตั้งครรภ์

สาเหตุทั่วไปของอาการปวดท้องระหว่างตั้งครรภ์

อาหารไม่ย่อยหรือรู้สึกแสบร้อนที่หน้าอก (heartburn) – บางครั้งอาการปวดท้องอาจเกิดร่วมกับอาการคลื่นไส้อาเจียน 
เส้นเอ็นรอบมดลูกของคุณยืดตัว – นี่เป็นสาเหตุของอาการปวดเกร็งท้องที่ไม่รุนแรง 
ความรู้สึกตึงเครียด – อาจเป็นสาเหตุของอาการปวดเกร็งท้องระหว่างหรือหลังจากถึงจุดสุดยอด (orgasm) 

ปวดท้องคลอดเป็นแบบไหน ปวดแค่ไหนถึงต้องรีบไปโรงพยาบาล

เมื่อเข้าสู่ช่วงไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์ จะมีอาการเตือนหลายอย่างเกิดขึ้น เพื่อที่จะบอกคุณแม่ท้องว่าเจ้าตัวน้อยที่อยู่ในท้อง พร้อมที่จะออกมาลืมตาดูโลกแล้ว โดยเฉพาะอาการเจ็บท้อง ซึ่งอาการเจ็บท้องนี่แหละที่มักจะทำให้คุณแม่ท้องสับสน เพราะมีทั้งอาการเจ็บท้องจริง และอาการเจ็บท้องเตือน เรามาดูกันว่าเราจะสังเกตอาการปวดท้องใกล้คลอดได้อย่างไร ปวดท้องคลอดเป็นแบบไหน ปวดแค่ไหนถึงต้องรีบไปโรงพยาบาล

ปวดท้องคลอดเป็นแบบไหน

สำหรับอาการปวดท้องใกล้คลอดนั้น คุณแม่ท้องสามารถสังเกตได้ดังนี้

  • คุณแม่ท้องจะมีอาการอึดอัด กล้ามเนื้อเกร็งทุก ๆ 5 – 10 นาที และเริ่มมีอาการปวดหลัง
  • มีอาการปวดท้องมากขึ้น ถี่ขึ้นเรื่อย ๆ แม้จะนอนพัก อาการปวดก็ไม่ทุเลาลง เมื่อเริ่มปวดท้องให้ลองจับเวลาดูจะพบว่า มีอาการปวดท้องสม่ำเสมอ ในระยะเวลา 1 ชั่วโมง เจ็บครรภ์ 5 ครั้งขึ้นไป โดยเจ็บท้องทุก ๆ  10 – 15 นาทีและมีอาการปวดท้องถี่ ๆ สม่ำเสมอ  มีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ปวดแต่ละครั้งนาน 30 – 70 วินาที
  • เมื่อเอามือคลำท้อง จะพบว่าท้องแข็งเนื่องจากมดลูกแข็งตัว หากคุณแม่ท้องเคลื่อนไหว หรือขยับตัว ก็จะปวดมากขึ้น จากนั้นมดลูกจะบีบตัวถี่ขึ้นเรื่อย ๆ จนปวดทุก 2 – 3 นาที และเมื่อไหร่ที่การบีบตัวของมดลูก บีบตัวประมาณ 45 วินาที นั่นก็เป็นสัญญาณที่ชัดเจนว่า คุณแม่ใกล้คลอดมากแล้ว
  • ตำแหน่งที่มีอาการปวด คือบริเวณหลัง หรือบั้นเอว ร้าวมาทางหน้าท้องและลงไปถึงต้นขาในขณะที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
  • รู้สึกว่าท้องเคลื่อนต่ำลง หรือลดลง มีอาการปวดหน่วง ๆ เหมือนมีอะไรจะไหลออกมา ซึ่งอาการนี้เรียกว่า ท้องลด เนื่องจากในเวลาที่เด็กเคลื่อนลงต่ำเพื่อเตรียมเข้าสู่การคลอด จะทำให้ท้องดูมีขนาดลดลง
  • มีมูกเลือดซึมออกมาจากช่องคลอด เรียกว่ามีอาการน้ำเดินแล้ว ซึ่งเป็นสัญญาณบอกว่า มดลูกกำลังจะมีการเปิดออก เพื่อเข้าสู่การคลอดที่กำลังจะมาถึง
ปวดท้องคลอด ต่างจากอาการเจ็บท้องเตือนอย่างไร

ปกติคุณแม่ท้องหลายท่านมักจะเข้าใจสับสนระหว่างอาการปวดท้องใกล้คลอด กับอาการเจ็บท้องเตือน ซึ่งอาการปวดท้องคลอด กับอาการเจ็บท้องเตือน จะต่างกันตรงที่ การเจ็บท้องเตือนนั้น เกิดจากมดลูกบีบหดตัว ทำให้ปวดบริเวณท้องเท่านั้น อาการปวดจะเป็นแบบไม่สม่ำเสมอเรียกว่า เป็น ๆ หาย ๆ  ความถี่หรือความเจ็บปวดจะไม่รุนแรงมากขึ้น ปวดแต่ละครั้งน้อยกว่า 50 – 80 วินาที และเมื่อเดิน หรือเปลี่ยนท่า อาการปวดก็จะบรรเทาลง

อย่างไรก็ตาม การเตรียมพร้อมก็เป็นสิ่งที่สำคัญ แม้จะเป็นอาการเจ็บท้องเตือน แต่คุณแม่ควรเตรียมเบอร์โทรศัพท์ของโรงพยาบาล และเบอร์ฉุกเฉินอื่น ๆ ไว้ด้วยจะดีที่สุด

าการผิดปกติ ที่ต้องรีบพบคุณหมอทันที

นอกจากอาการเจ็บท้องเตือน หรืออาการปวดท้องคลอดแล้ว คุณแม่ท้องก็ควรสังเกตสัญญาณ หรืออาการอื่น ๆ ด้วย หากมีอาการผิดปกติดังต่อไปนี้เกิดขึ้น ก็ควรรีบไปพบคุณหมอทันที

  1. เจ็บท้องคลอดหรือน้ำเดินก่อนครรภ์ครบกำหนด
  2. ลูกดิ้นน้อยลงหรือไม่ดิ้นเลย หรือดิ้นรุนแรงแล้วหยุดดิ้น
  3. มีเลือดออกทางช่องคลอด
  4. มีอาการผิดปกติอย่างเช่น มีอาการบวมมาก ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
  5. ถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วก่อนกำหนดคลอด

ได้ทราบกันแล้วนะครับว่า อาการปวดท้องคลอดเป็นแบบไหน แต่เมื่อถึงเวลาแล้ว หากคุณแม่ไม่แน่ใจ หรืออยากจะตรวจสอบให้แน่ใจ ว่าคุณแม่จะคลอดแล้วแน่ ๆ ก็โทรศัพท์ไปปรึกษากับทางโรงพยาบาลก่อนก็ได้นะครับ หรืออาจจะไปพบคุณหมอเลย เพื่อความมั่นใจและความปลอดภัยของทั้งคุณแม่และลูกในท้องนั่นเอง

บางครั้ง อาการปวดท้องอาจบ่งบอกถึงความผิดปกติบางอย่างที่น่าเป็นห่วง ดังนั้น หากคุณพบกับอาการใดๆ ดังต่อไปนี้ โปรดปรึกษาแพทย์โดยทันที 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • รู้จักกับอาการปวดท้องระหว่างตั้งครรภ์
แชร์ :
  • การเกิดตะคริวบริเวณท้อง ระหว่างตั้งครรภ์เป็นเรื่องปกติหรือไม่?

    การเกิดตะคริวบริเวณท้อง ระหว่างตั้งครรภ์เป็นเรื่องปกติหรือไม่?

  • 5 วิธีรับมือลดอาการอ่อนเพลียระหว่างตั้งครรภ์

    5 วิธีรับมือลดอาการอ่อนเพลียระหว่างตั้งครรภ์

  • สมุดฝากครรภ์ สมุดชมพูคนท้อง ทำไมจึงสำคัญ มีค่ากับคุณแม่และทารกมาก

    สมุดฝากครรภ์ สมุดชมพูคนท้อง ทำไมจึงสำคัญ มีค่ากับคุณแม่และทารกมาก

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • การเกิดตะคริวบริเวณท้อง ระหว่างตั้งครรภ์เป็นเรื่องปกติหรือไม่?

    การเกิดตะคริวบริเวณท้อง ระหว่างตั้งครรภ์เป็นเรื่องปกติหรือไม่?

  • 5 วิธีรับมือลดอาการอ่อนเพลียระหว่างตั้งครรภ์

    5 วิธีรับมือลดอาการอ่อนเพลียระหว่างตั้งครรภ์

  • สมุดฝากครรภ์ สมุดชมพูคนท้อง ทำไมจึงสำคัญ มีค่ากับคุณแม่และทารกมาก

    สมุดฝากครรภ์ สมุดชมพูคนท้อง ทำไมจึงสำคัญ มีค่ากับคุณแม่และทารกมาก

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ