X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

NAS อาการขาดยาของทารกแรกเกิด

บทความ 3 นาที
NAS อาการขาดยาของทารกแรกเกิด

NAS หรือ Neonatal Abstinence Syndrome คือ การที่ทารกแรกเกิดมีอาการขาดยา โดนต้นเหตุมาจากการเสพติดเฮโรอีน หรือยาเเก้ปวดของคุณเเม่

NAS หรือ Neonatal Abstinence Syndrome คือ การที่ทารกแรกเกิดมีอาการขาดยา ไม่ใช่โรคใหม่ค่ะ แถมยังเป็นที่พูดถึงกันพอๆ กับซิก้าด้วยซ้ำ สาเหตุของอาการนี้โดยปกตินั้นมาจากคุณแม่ที่ใช่สารเสพติดประเภทเฮโรอีนระหว่างการตั้งครรภ์ และการใช้ยาบรรเทาอาการปวดหรือยาแก้ปวด

NAS ค่อนข้าง MASS เหมือนกัน

ในประเทศอเมริกา อัตราการเกิดของโรคนี้สูงที่สุด จาก 1.5 ต่อ 1000 ในปี 1999 เป็น 6.0 ในปี 2013 และสูงที่สุดในเวอร์มอนท์ เวสท์ เวอร์จิเนีย และเมน ซึ่งมากกว่าเด็กที่เกิดมาเป็นออทิสติกถึง 2 เท่าเดียวกัน โดยเด็กๆ จะเป็น 30 ใน 1,000 คน โดยอาการขาดยาจะเกิดขึ้นหลังจากที่เด็กคลอดออกมาแล้วเพียงไม่กี่นาที และอาจเป็นต่อเนื่องจนถึงอายุ 14 วัน หรืออาจจะเป็นแค่ 3 วันก็ได้ ซึ่งอาการดังกล่าวมีทั้งที่แสดงอาการอย่างหนักจนถึงขั้นทำให้เสียชีวิตจากการชักได้

shutterstock_417576595

โรค NAS จะทำให้ลูก…

  • มีไข้
  • อาเจียน
  • ท้องเสีย ท้องร่วง
  • มีน้ำหนักแรกเกิดน้อย
  • กระสับกระส่าย งอแง
  • เกิดอาการชัก

แม้จะยังไม่มีการเก็บข้อมูลบ่งชี้ที่ครอบคลุมว่าในระยะยาว เด็กทารกที่เคยเป็น NAS ส่งผลต่อเรื่องอะไรบ้างเมื่อโตขึ้น แต่สิ่งที่พบได้บ่อยคือ

  • มีปัญหาด้านกระบวนการรับรู้ กระบวนการคิด และสุขภาพจิต
  • พัฒนาการช้า
  • บกพร่องทางด้านการเรียนรู้
  • ความรู้สีกยึดติดกับสิ่งต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็ว

shutterstock_413091193

ต้นตอของปัญหาคือโรคเสพติดยาของคุณแม่

ซึ่งทำให้ภาครัฐและสังคมสงเคราะห์สูญเสียค่าใช้จ่ายไปกับเรื่องนี้เพิ่มมากขึ้นทุกปี เนื่องจากคนอเมริกัน 9 ใน 10 กินยาแก้ปวดเป็นประจำ หลายหน่วยงานพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งจากการเก็บข้อมูลการสัมภาษณ์ ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์โดยใช้ยาแก้ปวด พวกเธอให้สัมภาษณ์ว่า เธอยินดีสละชีวิตของเธอเพื่อลูกโดยไม่ลังเล แต่เธอทำไม่ได้ถ้าจะไม่กินยาพวกนี้ มันไม่เกี่ยวว่าเธอไม่รักลูก หรือไม่มีทางเลือก หรือเธอไม่เข้มแข็งพอ แต่มันเป็นโรคๆ นึง

จากงานวิจัยชิ้นล่าสุดเมื่อเดือนมีนาคมปี 2016 ที่ใช้เวลาวิจัยถึง 5 ปีด้วยกัน ได้ทำการล้างพิษที่ตกค้างคุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ พบว่าสามารถลดอัตราการเกิด NAS ลงได้ และเห็นผลดีขึ้นอีกเมื่อทำควบคู่ไปกับการปรับพฤติกรรมของเด็กๆ เป็นอีกหนึ่งความหวังที่ยิงปืนนัดเดียวได้นกเป็นฝูง เพราะนอกจากจะทำให้เด็กทำนวนมากไม่ต้องทนทนมานกับ NAS แล้ว คุณแม่ยังได้รับการบำบัดจนทำให้ใช้ชีวิตได้ปกติ ไม่จำเป็นต้องพึ่งยา ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม และสิ่งที่กระทบเป็นวงกว้างนั้นคือ งบของรัฐบาลที่ไม่ต้องสูญเสียไปกับโรคนี้อีกต่อไป

Advertisement

แต่ทางป้องกันที่ดีที่สุด คือการวางแผนมีลูกค่ะ เพราะคุณแม่ต้องผ่านขั้นตอนการเตรียมตัว ตรวจสุขภาพ และได้รับการอบรมการเลี้ยงลูกและปฐมพยาบาลที่ถูกต้องค่ะ

ที่มา huffingtonpost.com

 

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ภาวะตัวเหลืองในเด็กแรกเกิด ป้องกันได้ไหม?

โรคลิ้นหัวใจรั่วในทารกแรกเกิด โรคที่พ่อแม่ควรรู้จัก

theAsianparent Community

 

บทความจากพันธมิตร
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • NAS อาการขาดยาของทารกแรกเกิด
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว