X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

คู่มือการปั๊มนมแม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม

บทความ 5 นาที
คู่มือการปั๊มนมแม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม

คุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมของตนมักปั๊มนมด้วยหลายเหตุผล คุณอาจสงสัยว่าแล้วจะปั๊มนมอย่างไร ปั๊มนมบ่อยแค่ไหน เด็กกินนมเท่าไร คู่มือปั๊มนมแม่ฉบับบนี้ช่วยคุณได้

คุณแม่มือใหม่ คงกังวลว่า ต้องปั๊มนมอย่างไร ปั๊มเท่าไหร่ จัดเก็บรักษาอย่างไรดี มาศึกษา คู่มือการปั๊มนมแม่ เพื่อเตรียมความพร้อมกันเถอะ

 

คุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมของตน มักปั๊มนมด้วยหลายเหตุผล ไม่ว่าจะเป็น เพราะอยากเก็บรักษานมแม่ที่มีมากเกินไม่ให้สูญเปล่า ไปจนถึงต้องการให้ลูกหย่านม คุณอาจสงสัยว่า แล้วจะเริ่มปั๊มนมอย่างไร และ มีปัจจัยอะไรที่ต้องคำนึงถึงบ้าง เราได้รวบรวม ” คู่มือการปั๊มนมแม่ ” มาให้เป็นแนวทางกันค่ะ

คู่มือปั๊มนมแม่,ปั๊มนมอย่างไร,ปั๊มนมบ่อยแค่ไหน,เด็กกินนมเท่าไร

คู่มือการปั๊มนมแม่

ข้อมูลพื้นฐาน

  • ปกติแล้ว การปั๊มนมแม่อย่างเต็มที่ 2-3 ครั้ง จะได้น้ำนมเพียงพอให้ลูกน้อยดื่ม 1 มื้อ
  • การผลิตน้ำนมของคุณแม่ ขึ้นอยู่กับความถี่ที่หน้าอกได้รับการกระตุ้น หากคุณลดความถี่ในการปั๊มนมลง ปริมาณน้ำนมก็จะลดตามไปด้วย
  • การให้อาหารเสริมแก่ทารกอายุ 6 เดือนขึ้นไป มักจะส่งผลต่อปริมาณน้ำนมที่คุณแม่ผลิต

ปริมาณปกติที่ควรปั๊ม

ควรกำหนดปริมาณน้ำนมไว้เป็นพื้นฐานอย่างคร่าว ๆ ว่า ควรปั๊มให้ได้เท่าไรในรอบ 24 ชั่วโมง ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณให้ลูกดูดนมประมาณ 8 ครั้งต่อวัน คุณก็สามารถกะได้ว่า ลูกน่าจะต้องการนมประมาณ 3 ออนซ์ต่อ 1 มื้อทุก 3 ชั่วโมง ( 24/8 =3 ออนซ์ )

ปริมาณน้ำนมที่แนะนำคือ 25-27 ออนซ์ ( 750-800 มล. ) ต่อวัน ภายใน 7-10 วันแรกหลังคลอด

ในกรณีของลูกแฝด ควรตั้งเป้าปั๊มให้ได้ 27-32 ออนซ์ ( 800-950 มล. ) ภายใน 14 วันแรกหลังคลอด

หากปริมาณน้ำนมที่ร่างกายผลิตได้นั้นคาบเส้น ( 11-17 ออนซ์ หรือ 350-500 มล. ) หรือต่ำกว่า ( น้อยกว่า 11 ออนซ์ หรือ 350 มล. ) แพทย์อาจสั่งยากระตุ้นการหลั่งน้ำนมให้คุณแม่ได้

ปริมาณน้ำนมที่ผลิตอาจเพิ่มได้ช้านานถึง 9-15 สัปดาห์หลังคลอด หากเป็นเช่นนี้ก็ขอให้คุณแม่ปั๊มน้ำนมต่อไปตามปกติ

คู่มือการปั๊มนมแม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม

วางแผนการปั๊มนม และจัดเก็บรักษาเพื่อลูกน้อยของคุณ

 

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม

วัยของทารก

โดยทั่วไปแล้ว ทารกแรกเกิดจะดื่มนมราว 1-2 ออนซ์ ( 30-60 มล. ) ต่อมื้อ และเมื่ออายุได้ 4-5 สัปดาห์ ทารกจะดื่มได้มากที่สุดคือ 3-4 ออนซ์ ( 90-120 มล. ) ต่อมื้อ และราว 30 ออนซ์ (900 มล.) ต่อวัน เมื่อเริ่มให้ทานอาหารเสริม ลูกจะค่อย ๆ ต้องการนมน้อยลง ยิ่งลูกโตขึ้นเท่าไร และทานอาหารเสริมมากขึ้นเพียงใด ลูกก็จะยิ่งต้องการนมน้อยลงเท่านั้น

คู่มือการปั๊มนมแม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม

ความถี่ในการปั๊ม

ยิ่งปั๊มนมบ่อยแค่ไหน ร่างกายก็จะผลิตน้ำนมออกมามากเท่านั้น ถ้าลดความถี่ในการให้นมลูกหรือปั๊มนม ปริมาณน้ำนมก็จะลดลง ในทางกลับกัน หากคุณแม่ปั๊มนมเป็นประจำ ก็จะมีน้ำนมให้ลูกน้อยอย่างสม่ำเสมอ

ช่วงเวลาในการปั๊ม

ร่างกายของคุณแม่ผลิตน้ำนมมากที่สุดช่วงกลางวัน และทารกมักดื่มนมมากที่สุดในตอนบ่าย หรือ ช่วงเย็น ผู้เชี่ยวชาญหลายคนแนะนำว่า เวลาที่เหมาะในการปั๊มนมที่สุดคือ ราวหนึ่ง หรือ ครึ่งชั่วโมงก่อนที่ลูกน้อยจะดื่มมื้อแรกของเช้าวันนั้น

ประสิทธิภาพของเครื่องปั๊ม

ใช่ว่าเครื่องปั๊มนมทั้งหมดจะทำงานแบบเดียวกัน เครื่องปั๊มบางประเภทย่อมมีประสิทธิภาพดีกว่าแน่นอน โดยทั่วไปแล้วเครื่องปั๊มนมอัตโนมัติสองหัวซึ่งมีจังหวะการดูด และ ปล่อย 40-60 ครั้งต่อนาที จะสามารถปั๊มนมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด

คู่มือการปั๊มนมแม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม

เลือกใช้เครื่องปั๊มนมที่มีประสิทธิภาพในการผลิตน้ำนม

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

สภาวะจิตใจและอารมณ์ของคุณแม่

คุณแม่มือใหม่ยังสับสนกับหลากหลายอารมณ์ เนื่องจากฮอร์โมนที่มีมากกว่าปกติในร่างกาย นี่อาจส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำนมที่สามารถปั๊มได้ เช่น อะดรีนาลินที่หลั่งเข้าสู่กระแสเลือดในยามที่คุณแม่รู้สึกเครียดนั้น เป็นตัวอย่างหนึ่งของฮอร์โมนที่ทำให้น้ำนมไหลไม่พอเพียงต่อการปั๊ม

คู่มือการปั๊มนมแม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม

ความเครียดอาจทำให้คุณแม่ผลิตน้ำนมได้น้อยลง

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ และ คอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่คุณแม่เลือก นอกจากสาระความรู้ที่เรามอบให้คุณแม่ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การวางแผนมีลูกแล้ว เรายังมีแอพพลิเคชั่นรวมถึงสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ที่ช่วยตอบโจทย์ทุกความต้องการของคุณแม่ยุคใหม่ ที่ต้องทำงาน และดูแลลูกไปพร้อมกัน ให้มีความมั่นใจ และพร้อมในการดูแลลูกทุกช่วงเวลา ตั้งแต่การให้นมบุตร การดูแลตนเองหลังคลอด ท่าออกกำลังกายหลังคลอด เพื่อให้หุ่นของแม่หลังคลอดกลับมาฟิตแอนเฟิร์มอีกครั้ง  The Asianparent Thailand ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุนคุณพ่อ คุณแม่ในเรื่องการดูแลลูก ความรู้แม่ และเด็กที่เต็มเปี่ยม และตอบทุกข้อสงสัยในแอพพลิเคชั่นที่เป็นสื่อกลาง และกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย

 


source หรือ บทความอ้างอิง : aeroflowbreastpumps.com

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ :

เครื่องปั๊มนมไฟฟ้าที่น่าสนใจ

สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการให้นมลูก

แก้ปัญหาปั๊มนมไม่ออก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Angoon

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • คู่มือการปั๊มนมแม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมเพื่อปั๊ม
แชร์ :
  • เครื่องปั๊มน้ำนม Attitude mom, Medela, Spectra

    เครื่องปั๊มน้ำนม Attitude mom, Medela, Spectra

  • แนะนำ 10 เครื่องปั๊มน้ำนม มาดูกันว่ายี่ห้อไหน ประเภทไหนเหมาะกับเรา

    แนะนำ 10 เครื่องปั๊มน้ำนม มาดูกันว่ายี่ห้อไหน ประเภทไหนเหมาะกับเรา

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • เครื่องปั๊มน้ำนม Attitude mom, Medela, Spectra

    เครื่องปั๊มน้ำนม Attitude mom, Medela, Spectra

  • แนะนำ 10 เครื่องปั๊มน้ำนม มาดูกันว่ายี่ห้อไหน ประเภทไหนเหมาะกับเรา

    แนะนำ 10 เครื่องปั๊มน้ำนม มาดูกันว่ายี่ห้อไหน ประเภทไหนเหมาะกับเรา

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ