X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ เกิดจากอะไร รับมืออย่างไรได้บ้าง ?

บทความ 3 นาที
อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ เกิดจากอะไร รับมืออย่างไรได้บ้าง ?

อาการชาหรือบางครั้งหลายคนอาจเรียกว่าเป็น “เหน็บชาในคนท้อง” ถือเป็นอาการที่คุณแม่ส่วนใหญ่พบเจอ

แม่ท้องร้องหนักมากทำไมแขนขาถึงเกิดอาการชาไม่รู้จบ อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ เมื่อท้องของคุณแม่เริ่มโตขึ้นเรื่อยๆ แม่ท้องส่วนมากโดยเฉพาะตอนท้องแก่มักจะมีอาการแขน ขา ชา อยู่บ่อยๆ

 

อาการชาตามนิ้วมือ นิ้วเท้า ของคนท้อง” อาการขาชาเกิดจากอะไร 

"อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ"}

ส่วนใหญ่แล้วอาการปวดและชานิ้วมือของคนท้องนั้น มีสาเหตุมาจากการที่เส้นประสาทที่ไปเลี้ยงบริเวณมือถูกกดทับ ส่งผลให้เนื้อเยื่อตรงส่วนนั้นมีอาการบวมจนทำให้มีอาการปวดชาตามนิ้วมือตามมา ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ทำให้คนท้องมีอาการดังกล่าวก็เนื่องมาจาก ในระหว่างตั้งครรภ์ระดับฮอร์โมนในร่างกายของคุณแม่จะเปลี่ยนแปลงไป โดยฮอร์โมนตัวหนึ่งที่ชื่อโพรเจสเตอโรนไปกระตุ้นให้เอ็นเกิดการคลายตัวและทำให้ข้อต่อกระดูกเกิดการหย่อนตัวมากขึ้น ส่งผลให้ภายในร่างกายมีน้ำสะสมอยู่ในปริมาณมาก และด้วยปริมาณน้ำที่มากเกินไป ก็จะไปทำให้ช่องตรงส่วนข้อมือเล็กแคบลง และทำให้เส้นประสาทถูกกดทับ โดยอาการปวดและชานิ้วมืออาจจะเกิดได้กับนิ้วมือข้างใดข้างหนึ่ง หรืออาจจะเป็นทั้งสองข้างพร้อมกันก็ได้ ซึ่งคุณแม่อาจจะมีอาการนี้ไปจนสิ้นสุดการตั้งครรภ์

 

อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ

 

Advertisement

แม่ท้องชาตามปลายมือ และปลายเท้า

“อาการชาตามปลายมือ และปลายเท้า” รวมไปถึงการปวดข้อมือได้ อีกสาเหตุคือ การรับประทานอาหารของคุณแม่ เพราะต้องเลี้ยงถึง 2 ชีวิต สารอาหารที่แม่กินเข้าไปจึงต้องมีคุณภาพและต้องการในจำนวนที่มากขึ้นตามไปด้วย และอาจเกิดจากการขาดวิตตามินบีก็เป็นไปได้

 

เมื่อเกิดอาการชาต้องรับมืออย่างไร

อาการ “คนท้องชาตามปลายมือ ปลายเท้า”แม้จะเป็นเรื่องปรกติไม่ได้มีอันตรายร้ายแรงอะไร แต่ก็สร้างความลำบากไม่สบายตัวให้กับคุณแม่ท้องไม่น้อย  เมื่อเกิดอาการชาที่มือก็ให้คุณแม่เปลี่ยนอิริยาบท สะบัดมือไปมาจนกว่าจะดีขึ้น หรือนวดเบาๆก็จะช่วยให้อาการชาดีขึ้น หรือออกกำลังกายเบาๆด้วยการกำมือสลับกางมือไปด้วยก็ช่วยได้ หรือแช่มือ และเท้าในน้ำอุ่นเพื่อช่วยให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงเส้นประสาทได้มากขึ้น เวลานอนควรวางมือไว้บนหมอน หรือห้อยมือลงจากเตียงเพื่อป้องกันการนอนทับมือซึ่งส่งผลให้อาการชาปลายมือเลวร้ายลงไปอีก

แม่ท้องร้องหนักมากทำไมแขนขาถึงชาไม่รู้จบ

 

จริงอยู่ที่อาการชาปลายมือ ปลายเท้าและปวดข้อมือของคนท้องแก่ใกล้คลอดเป็นเรื่องปกติและจะหายไปเองหลังคลอด แต่หากเกิดอาการชาหรือปวดจนขยับมือไม่ได้ หรือมือเท้าบวมมากจนผิดปรกติต้องรีบไปพบแพทย์จะเป็นทางออกที่ดีที่สุด หากคุณแม่ยังคงกังวลกับอาการชา ครั้งต่อไปที่ต้องไปพบหมอก็ลองสอบถามปรึกษากับท่านดูอีกทีเพื่อความสบายใจก็เป็นทางออกที่ดี

 

วิธีบรรเทาอาการเมื่อปวดและชาตามนิ้วมือนิ้วเท้า

อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ เกิดจากอะไร รับมืออย่างไรได้บ้าง ?

  1. เมื่อคุณแม่ มีอาการปวดและชาเกิดขึ้นในขณะที่คุณแม่ใช้มือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ให้คุณแม่พักมือจากงานที่ทำอยู่ทันที และปล่อยไว้ซักพักแล้วอาการจะดีขึ้นได้เอง
  2. ให้คุณแม่เอามือแช่ลงในน้ำอุ่น เนื่องจากน้ำอุ่นจะช่วยกระตุ้นให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น ซึ่งก็จะทำให้คุณแม่รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้นและจะค่อย ๆ หายเป็นปกติ โดยหากคุณแม่ทำเป็นประจำก่อนนอน ก็จะช่วยให้ความถี่ของอาการลดน้อยลง
  3. ฝึกโยคะบริหารกล้ามเนื้อ การทำโยคะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยสร้างความผ่อนคลายให้กล้ามเนื้อและช่วยให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น และยังช่วยให้กล้ามเนื้อมือมีความแข็งแรงมากขึ้นด้วย แต่ต้องเลือกท่าโยคะที่ไม่กระทบต่อลูกน้อยในครรภ์มากนัก

 

นอกจากนี้ การฝึกโยคะสามารถช่วยบรรเทาอาการคนท้องมือชาได้ เนื่องจากเป็นการฝึกมือให้แข็งแรงขึ้น

คุณแม่ไม่ต้องกังวลว่า อาการปวดชาตามนิ้วมือนี้จะไม่หาย เพราะ หลังคลอดสักระยะพออาการบวมลดลง ช่องที่บริเวณข้อมือก็จะกลับมากว้างเหมือนเดิม อาการคนท้องมือชาก็จะหายไป ถ้าชามากไม่สามารถทำงานได้ ให้บรรเทาด้วยการแช่น้ำอุ่น เพื่อให้การหมุนเวียนของเลือดบริเวณฝ่ามือ และ ข้อมือดีขึ้น จะได้ยุบบวมลง หรือการนวดบริเวณข้อมือและฝ่ามือบ่อยๆ ก็จะทำให้อาการคนท้องมือชาดีขึ้นค่ะ แต่หากอาการปวดหรือชาของคุณแม่ไม่ลดลง หรือเจ็บปวดมากขึ้น ควรรีบปรึกษาคุณหมอนะคะ

อาการปวดและชานิ้วมือถือเป็นอาการคนท้องอย่างหนึ่งซึ่งจะสามารถหายไปได้เอง เนื่องจากภายหลังจากการคลอดอาการบวมจะลดน้อยลง ทำให้ช่องตรงส่วนนิ้วมือกลับมากว้างขึ้น ทำให้อาการปวดและชาจากการกดทับของเส้นประสาทหมดไป แต่อย่างไรก็ดีตามหากมีอาการรุนแรงมากหรือมีอาการผิดปกติอื่น ๆ ร่วมด้วย ควรรีบไปพบแพทย์ทันที

อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ เกิดจากอะไร รับมืออย่างไรได้บ้าง ?

ที่มา : 1

บทความจากพันธมิตร
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
เตรียมพร้อมลูกน้อยฉลาดและแข็งแรงตั้งแต่ในครรภ์ ด้วย นมเฉพาะสำหรับแม่ตั้งครรภ์
เตรียมพร้อมลูกน้อยฉลาดและแข็งแรงตั้งแต่ในครรภ์ ด้วย นมเฉพาะสำหรับแม่ตั้งครรภ์

บทความที่เกี่ยวข้อง

ตะคริวที่ท้องขณะตั้งครรภ์ เป็นได้ยังไง แก้ยังไงให้หาย?

คลิปลูกดิ้นในครรภ์แม่ ทั้งถีบ ทั้งเตะ ทั้งโก่งตัว ที่แม่ท้องปูดเป็นอย่างนี้นี่เอง

10 อาหารคนท้องไตรมาสแรก  คนท้องไตรมาสแรกควรกินอะไรมาดูกัน!

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Weerati

  • หน้าแรก
  • /
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • /
  • อาการชา แขน ขา เหมือนเป็นเหน็บ เกิดจากอะไร รับมืออย่างไรได้บ้าง ?
แชร์ :
  • 7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

    7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

  • วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

    วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

  • คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

    คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

  • 7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

    7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

  • วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

    วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

  • คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

    คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว