X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยทั้งพ่อและแม่มีความฉลาดมากกว่า

บทความ 3 นาที
เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยทั้งพ่อและแม่มีความฉลาดมากกว่า

งานวิจัยชิ้นใหม่ชี้ให้เห็นว่าเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยทั้งพ่อและแม่จะโตมาฉลาดมากกว่าเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยพ่อ หรือแม่ คนใดคนหนึ่งเพียงคนเดียว

เด็ก เลี้ยงดู พ่อแม่ ฉลาด เลี้ยงเดี่ยว

เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยทั้งพ่อและแม่มีความฉลาดมากกว่า

นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าการให้เด็กอยู่ร่วมกับพ่อและแม่ในช่วงแรกของชีวิตจะช่วยให้เด็กพัฒนาเซลล์สมองได้มากกว่า แต่เด็กสองเพศจะได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ดังกล่าวแตกต่างกัน กล่าวคือเด็กชายที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยทั้งพ่อและแม่จะมีความจำและความสามารถในการเรียนรู้ที่สูงกว่า ส่วนเด็กหญิงที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยทั้งพ่อและแม่จะมีพัฒนาการการประสานการสั่งการของร่างกายและการเข้าสังคมที่ดีกว่า

เป็นที่เชื่อกันว่าทารกที่อยู่กับทั้งพ่อและแม่จะได้รับการใส่ใจและมีความมั่นคงมากกว่า จึงมีโอกาสประสบภาวะความเครียดทางอารมณ์น้อยกว่าในช่วงแรก ๆ ของชีวิต ปัจจัยเหล่านี้ทำให้มีการผลิตเซลล์สมองมากกว่า ทั้งสีเทาในเด็กชาย และสีขาวในเด็กหญิง

นักวิจัยสถาบันสมองฮอทช์คิซแห่งมหาวิทยาลัยแคลการี่ที่ประเทศแคนาดาศึกษาหนูทดลองโดยจัดแบ่งหนูออกเป็นกลุ่มที่มีพ่อหรือแม่อย่างใดอย่างหนึ่ง กับกลุ่มที่ได้มีทั้งพ่อและแม่ จากนั้นจึงวัดการพัฒนาเซลล์สมองของลูกหนูตั้งแต่เกิดจนโต

การทดลองพบว่าหนูที่โตเต็มวัยที่มีปริมาณเซลล์สมองมากที่สุดคือกลุ่มหนูที่ได้อยู่ร่วมกับพ่อและแม่พร้อมกันมากกว่า

ดอกเตอร์แซมมวล ไวส์ ผู้อำนวยการสถาบันสมองฮอทช์คิซกล่าวว่าลูกหนูที่อยู่กับทั้งพ่อ และแม่ได้รับการใส่ใจ และดูแลมากกว่า ดังนั้นลูกหนูจึงมีโอกาสประสบเหตุบาดเจ็บในช่วงแรกของชีวิตน้อยกว่า และนี่มีผลอย่างมากต่อการพัฒนาสมองของลูกหนูในอนาคต

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Advertisement

ดอกเตอร์ไวส์กล่าวว่า การศึกษาชี้ให้เห็นว่าประสบการณ์การเลี้ยงดูที่ดีมีผลดีต่อการพัฒนาสมอง และผลดีของการเลี้ยงลูกโดยมีทั้งพ่อและแม่ ยังส่งผลสืบทอดไปหารุ่นต่อไปได้อีกด้วย

รายงานชี้ให้เห็นว่าประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม และการเลี้ยงดูในช่วงแรกของชีวิตสามารถส่งผลต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการสมอง แม้ว่าการทดลองจะมีขึ้นกับหนู แต่ก็มีความเป็นไปได้ว่าสามารถใช้หลักการเดียวกันกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ เช่นมนุษย์เช่นเดียวกัน

ที่มา: เดลี่เมลล์

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยทั้งพ่อและแม่มีความฉลาดมากกว่า
แชร์ :
  • 5 หัวใจสำคัญของการ เลี้ยงลูกสองภาษา วางกลยุทธ์ ฝึกยังไงให้ได้ผล

    5 หัวใจสำคัญของการ เลี้ยงลูกสองภาษา วางกลยุทธ์ ฝึกยังไงให้ได้ผล

  • 6 วิธีเก็บเงินให้ลูก ต่อยอดเงินเก็บให้งอกเงย โตไปมีเงินก้อนไว้ใช้

    6 วิธีเก็บเงินให้ลูก ต่อยอดเงินเก็บให้งอกเงย โตไปมีเงินก้อนไว้ใช้

  • EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

    EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

  • 5 หัวใจสำคัญของการ เลี้ยงลูกสองภาษา วางกลยุทธ์ ฝึกยังไงให้ได้ผล

    5 หัวใจสำคัญของการ เลี้ยงลูกสองภาษา วางกลยุทธ์ ฝึกยังไงให้ได้ผล

  • 6 วิธีเก็บเงินให้ลูก ต่อยอดเงินเก็บให้งอกเงย โตไปมีเงินก้อนไว้ใช้

    6 วิธีเก็บเงินให้ลูก ต่อยอดเงินเก็บให้งอกเงย โตไปมีเงินก้อนไว้ใช้

  • EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

    EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว